ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ความเป็นอนิจจังของสังคม

แนวคิด-ปรัชญา
26
ตุลาคม
2566
การถือลำดับชั้นทางสังคมไม่เคยปรากฏขึ้นว่ามีในสังคมปฐมสหการ แต่เมื่อสังคมทาส ศักดินา หรือธนานุภาพ (ระบบทุน) เกิดขึ้นมา คำเรียกและลำดับชั้นเหล่านี้ก็ล้วนจำต้องปรากฏออกมา และสัมพันธ์กับการถือครองปัจจัยการผลิต
บทบาท-ผลงาน
25
ตุลาคม
2566
รวบรวมผลงานเขียนของนายปรีดี พนมยงค์ที่สะท้อนให้เห็นถึงทัศนะและความคิดทางการเมืองของนายปรีดี ในช่วงทศวรรษ 2510 และเจาะไปถึงปัญหาความแตกต่าง ทั้งหลักการ ความคิด การเคลื่อนไหว และจุดตั้งต้นระหว่าง “คอมมิวนิสต์และสังคมนิยม”
แนวคิด-ปรัชญา
5
ตุลาคม
2566
สมุฏฐาน เพื่ออธิบายถึงเหตุหรือที่มาของสรรพสิ่ง ความจริงที่มนุษย์รับรู้ ซึ่งประเด็นปัญหาสำคัญทางอภิปรัชญาว่าด้วยความจริงและการรับรู้ของมนุษย์ ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดทั้งสองนี้ ข้อโต้แย้ง และข้อเข้าใจผิด รวมไปถึงแนวคิดทั้งสองนี้ที่สัมพันธ์อย่างไรเปรียบกับร่างกายมนุษย์
แนวคิด-ปรัชญา
27
กันยายน
2566
อาจารย์ปรีดี พนมยงค์ได้ชี้ให้เห็นความเคลื่อนไหวและการเปลี่ยนแปลงสังคมตามปัจจัยสำคัญตามความต้องการใหม่ที่เกิดขึ้นจากการเปลี่ยนแปลง
แนวคิด-ปรัชญา
24
ตุลาคม
2564
“สิ่งทั้งหลายในโลกนี้เป็นอนิจจัง ไม่มีสิ่งไดนิ่งคงอยู่กับที่ ทุกสิ่งที่มีอาการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปอย่างไม่หยุดยั้ง”
แนวคิด-ปรัชญา
8
มิถุนายน
2564
เมื่อจะกล่าวถึงความคิดของ ‘ปรีดี พนมยงค์’ สิ่งหนึ่งที่ไม่อาจจะหลีกเลี่ยงได้คือการก่อตัวของสิ่งที่ท่านเรียกว่า “จิตสำนึก”
บทบาท-ผลงาน
16
พฤษภาคม
2564
ในช่วงเดือนพฤษภาคมของทุกปี จะชวนให้ข้าพเจ้ารำลึกถึง ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส ที่มีความสำคัญมากที่สุดคนหนึ่งของโลก
แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤศจิกายน
2563
สวัสดีมายัง คณะกรรมการนิสิต คณะนิติศาสตร์ จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
แนวคิด-ปรัชญา
17
กันยายน
2563
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรรณภา ติระสังขะ ได้ประมวลแนวคิดประชาธิปไตยสมบูรณ์ของนายปรีดีไว้แล้ว ในบทความนี้
แนวคิด-ปรัชญา
11
กันยายน
2563
ในบทความนี้ สุโข สุวรรณศิริ นำเสนอวิสัยทัศน์ 6 ด้านของนายปรีดี พนมยงค์ คือ ในการสร้างประชาธิปไตย ในทางเศรษฐกิจ ในด้านการศึกษา ในด้านธรรมะ ในเรื่องการคุ้มครองสิทธิของพลเมืองพลเมือง และในด้านการต่างประเทศและสันติภาพ
Subscribe to ความเป็นอนิจจังของสังคม