ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

คอมมิวนิสต์

แนวคิด-ปรัชญา
10
มีนาคม
2566
ย้อนรอยสำรวจการเมืองแห่งการอ่าน ผ่านการปะทะโต้ตอบทางอุดมการณ์ด้วยการผลิตตีพิมพ์ซ้ำระหว่าง "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" และ "พระบรมราชวินิจฉัยฯ" โดยเริ่มต้นข้อทบทวนความเป็นมาและเป้าหมายของเอกสารทางประวัติศาสตร์ทั้งสองฉบับ ก่อนจะนำไปสู่การพยายามรื้อฟื้นเอกสารทั้งสองฉบับในนับตั้งแต่ พ.ศ. 2490 เป็นต้นไป
บทบาท-ผลงาน
13
กันยายน
2565
ความพยายามในการสร้างรัฐประชาธิปไตยด้วยการสถาปนารัฐสมัยใหม่ของนายปรีดี พนมยงค์ ภายใต้บทบาทและเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์การเมืองครั้งสำคัญนับตั้งแต่การอภิวัฒน์สยาม 2475 และการสานต่อเจตนารมณ์แห่งการอภิวัฒน์ภายหลังจากนายปรีดีขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 2489
แนวคิด-ปรัชญา
22
สิงหาคม
2565
ช่วงตอบคำถามในงานเสวนา PRIDI Talks #17: 77 ปี วันสันติภาพไทย "ความคิดสันติภาพของปรีดี พนมยงค์ กับ สันติภาพของโลกในปัจจุบัน" มีคำถามจากผู้ชมทั้งช่องทางออนไลน์และในหอประชุม
แนวคิด-ปรัชญา
22
สิงหาคม
2565
'รัศม์ ชาลีจันทร์' กล่าวถึงการวางรากฐานแนวคิดสันติภาพของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านนโยบายการต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นคุณูปการที่สืบเนื่องนับตั้งแต่การอภิวัฒน์สยาม 2475
แนวคิด-ปรัชญา
21
สิงหาคม
2565
ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยทางเศรษฐกิจกับสันติภาพและสงคราม มีความสัมพันธ์กันอย่างชัดเจน ซึ่งมีงานวิจัยและงานทางวิชาการที่ยืนยัน เวลาที่จะเกิดสงครามใหญ่มันจะเกิดสภาวะวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และสงครามก็นำมาสู่วิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ
แนวคิด-ปรัชญา
20
สิงหาคม
2565
มนุษย์เราส่วนใหญ่ต้องการสันติภาพ แต่ผู้นำส่วนใหญ่มักแต่คิดเรื่องของตนเอง โดยพวกเขาชอบสร้างความฝันที่ส่งผลกระทบให้เกิดสงคราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
มิถุนายน
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : หวอเหงียนย้าป จอมทัพคู่บารมีโฮจิมินห์ ถิ่นกำเนิดแห่งปฐมวัย
บทบาท-ผลงาน
26
เมษายน
2565
จากปัญหาหลักของชาวนาในสยามที่ปรีดีพบ คือ ไม่ได้รับความช่วยเหลือและดูแลโดยหน่วยงานของรัฐ ไม่ว่าจากทั้งส่วนกลาง หรือส่วนท้องถิ่น อาจเป็นสาเหตุหลักที่ทำให้ปรีดี สนใจเรื่องบทบาทและหน้าที่ตำรวจชาวนาของฝรั่งเศส ส่งผลเชื่อมโยงแนวคิดมาจนถึงการอภิวัฒน์สยามเพื่อความสุขสมบูรณ์ของราษฎร ตามปฏิญญาที่คณะราษฎรได้ประกาศไว้
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
เมษายน
2565
'อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ' สืบค้นข้อมูลพบโคลงบทหนึ่งที่เคยอยู่บนหน้าหนังสือพิมพ์ ที่มีเนื้อหาพาดพิงถึง 'หลวงประดิษฐ์มนูธรรม' หรือ 'นายปรีดี พนมยงค์'
แนวคิด-ปรัชญา
28
พฤษภาคม
2564
บทความนี้ 'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' จะพาย้อนศึกษาโครงสร้าง ข้อกฎหมายต่างๆ และความสำคัญของภาษีที่ดินในประเทศไทย อาทิ เรื่องของภาษีโรงเรือนและสิ่งปลูกสร้าง เรื่องของภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง
Subscribe to คอมมิวนิสต์