คอมมิวนิสต์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
ธันวาคม
2566
เนื่องในวาระชาตกาล 114 ปี ‘เตียง ศิริขันธ์’ อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ ย้อนพาผู้อ่านกลับไปหาเรื่องราวก่อนจะมาเป็นสมาชิกผู้แทนราษฎร ผ่านเรื่องราวสมัยเรียนอักษรศาสตร์ การเป็นครู และถูกกล่าวหาว่าเป็นคอมมิวนิสต์จากเรื่องราวของนางงาม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤศจิกายน
2566
นำเสนอถึงปัญหาเศรษฐกิจไทยภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 จากบทสัมภาษณ์ศาสตราภิชาน แล ได้กล่าวไว้ 3 เรื่องสำคัญ พร้อมกับผูกประเด็นเหล่านั้นกับแนวคิดและข้อเสนอของ ผศ.ดร. ธร ปิติดล จากงานวิจัยชื่อ “แนวคิดและอุดมการณ์กับพัฒนาการระบบสวัสดิการไทย”
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤศจิกายน
2566
ดร.โภคิน พลกุล และ ดร.ปรีชา สุวรรณทัต กล่าวถึงการรัฐประหาร 2490 อันเป็นจุดเปลี่ยนทางการเมืองครั้งสำคัญของไทย ส่งผลให้ท่านปรีดี พนมยงค์ ต้องลี้ภัยออกนอกประเทศไปอย่างถาวร เพื่อใหัควรมกระจ่างแก่สังคมในประเด็นต่อไปนี้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
3
พฤศจิกายน
2566
จากปัจจัยสำคัญที่ทำให้ญี่ปุ่นและเยอรมนีประสบความสำเร็จนี้ นับเป็นสิ่งที่ประเทศไทยสามารถเรียนรู้จากประสบการณ์ของญี่ปุ่นและเยอรมนีเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจให้เจริญรุ่งเรืองได้
บทความ • บทบาท-ผลงาน
1
พฤศจิกายน
2566
คลี่คลายปมความสงสัยเรื่องจุดยืนและความคิดทางการเมืองของนายปรีดีที่ได้ระบุไว้ในบทสัมภาษณ์เรื่อง “Pridi Through a looking glass” ว่าปรัชญาการเมืองของท่านคือ “สังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย”
บทความ • บทบาท-ผลงาน
25
ตุลาคม
2566
รวบรวมผลงานเขียนของนายปรีดี พนมยงค์ที่สะท้อนให้เห็นถึงทัศนะและความคิดทางการเมืองของนายปรีดี ในช่วงทศวรรษ 2510 และเจาะไปถึงปัญหาความแตกต่าง ทั้งหลักการ ความคิด การเคลื่อนไหว และจุดตั้งต้นระหว่าง “คอมมิวนิสต์และสังคมนิยม”
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
ตุลาคม
2566
พลวัตของฝ่ายเผด็จการว่ามีลักษณะและการแปรเปลี่ยนรูปแบบไปของเผด็จการอย่างไร ในช่วงอภิวัฒน์ฝรั่งเศสของกษัตริย์หรือชนชั้นเจ้าศักดินา และการเกิดขึ้นมาใหม่ของชนชั้นเจ้าสมบัติหรือนายทุนสมัยใหม่ที่เติบโตไปพร้อมกับโครงสร้างทุนนิยมที่ขยายใหญ่ขึ้น
บทความ • บทสัมภาษณ์
15
ตุลาคม
2566
การหายไปของอนุสาวรีย์ปราบกบฏและมรดกคณะราษฎรชิ้นอื่นๆ นั้น สะท้อนถึงนัยทางการเมืองของการรื้อถอนอดีต ความทรงจำชุดหนึ่งไม่เป็นที่ต้องการของภาครัฐหรือไม่ก็ไม่เป็นที่ต้องการของบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
11
ตุลาคม
2566
ความหมายและความเข้าใจถึงคำว่า “เผด็จการ” ที่ปรากฏใช้ในสังคมไทยและทั่วโลกมีที่มา ความหมาย อย่างไรในเชิงนิรุกติศาสตร์หรือตามความหมายและการใช้คำที่ผันแปรไปตามสังคม พื้นที่/เวลา และรูปแบบของผู้ปกครองและระบอบที่ใช้ปกครอง
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to คอมมิวนิสต์
27
กรกฎาคม
2566
รัฐธรรมนูญ มาตรา 49 เป็นบทบัญญัติที่ออกมาเพื่อทำหน้าที่ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” อันมาจากแนวคิด “ประชาธิปไตยที่ป้องกันตัวเอง” แต่เมื่อพิจารณาจากการบังคับใช้จริงในสังคมไทยผ่านมา ย่อมเกิดการตั้งคำถามว่า แท้จริงแล้วกฎหมายมาตรานี้ถูกใช้เพื่อ “พิทักษ์รัฐธรรมนูญ” ของ “ใคร” หรือจาก “อะไร” กันแน่