ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

จอมพล ป. พิบูลสงคราม

บทบาท-ผลงาน
19
สิงหาคม
2563
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 นั้น ปัญหาการขาดแคลนสินค้าอุปโภคบริโภคเป็นปัญหาสำคัญที่กระทบต่อชีวิตของประชาชนเป็นอย่างมาก  สินค้าบางอย่างที่ในปัจจุบันไม่ได้หายากอย่างเช่น ผ้าห่ม และเสื้อผ้า กลับมีค่า มีราคา และมีความสำคัญเป็นอย่างมาก  
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2563
“ถ้าปราศจากจํากัด พลางกูร งานขององค์กรใต้ดินครั้งนี้อาจจะล้มเหลว หรือหากสําเร็จ ก็คงเป็นไปในรูปที่ผิดแผกกว่าที่ได้ปรากฏแก่ตาโลกภายหลัง”
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2563
อาจารย์เออิจิ มูราชิมา นักประวัติศาสตร์ชื่อดังชาวญี่ปุ่น เปิดเผยข้อมูลทางประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจว่า ในตอนที่จอมพล ป. พิบูลสงคราม ประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐอเมริกานั้น ฝ่ายญี่ปุ่นค่อนข้างตกใจ
แนวคิด-ปรัชญา
13
สิงหาคม
2563
บทสนทนากับอาจารย์พรรณีในครั้งนี้ ช่วยให้เรามีโอกาสทบทวนถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจ ตลอดจนอิทธิพลของจักรวรรดิญี่ปุ่นเหนือประเทศไทยในมิติอื่นที่นอกเหนือไปจากเรื่องศึกสงคราม และเกมการเมือง
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2563
ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม มีความพยายามถักทอจิตสํานึกในเรื่องชาติไว้เป็นฐานสําหรับค้ําจุนอํานาจความชอบธรรม ชาวไทยสมัยนั้นจึงถูกกระตุ้นเตือนอยู่ตลอดเวลาว่า ตนกําลังใช้ชีวิตอยู่ใน “ประเทศไทยใหม่” จึงต้องประพฤติตัวให้เป็น “ผู้มีอารยะ” เพื่อช่วยกันสร้างชาติให้ยิ่งใหญ่
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
สิงหาคม
2563
บทบาทของนายสงวน ตุลารักษ์ ในหน้าประวัติศาสตร์เสรีไทย มีความชัดเจนและโดดเด่น ซึ่งหากจะพิจารณาอย่างเป็นธรรมและถ่องแท้แล้ว จะเห็นได้ว่าเป็นรองกว่าบุคคลอื่น ๆ ในขบวนการเสรีไทยทั้งภายในและภายนอกประเทศเพียงไม่กี่คนเท่านั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
สิงหาคม
2563
เมื่อเอ่ยถึง "ทวี บุณยเกตุ" หลายคนอาจนึกถึง "นายกรัฐมนตรีที่ดำรงตำแหน่งสั้นที่สุด" หรือนายกขัตตาทัพที่รอ ม.ร.ว.เสนีย์ ปราโมช อัครราชทูตไทยที่สหรัฐอเมริกา กลับมาดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ยุติลง
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
สิงหาคม
2563
"สำคัญที่เกียรติ" คือ หลักการในชีวิตของนายดิเรก ชัยนาม ผู้ก่อการ 2475 กำลังสำคัญของขบวนการเสรีไทย นักการทูตผู้โดดเด่น และนักการเมืองที่ได้รับการยอมรับว่าเป็นคนซื่อสัตย์สุจริต
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
สิงหาคม
2563
กล่าวได้ว่า กลุ่มสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร “อีสาน” ดูจะโดดเด่นเป็นพิเศษในฐานะที่พยายามทําหน้าที่เป็นตัวแทนของ คนส่วนใหญ่ จาก “วงนอก” และจาก “ชายขอบ” เป็นปากเสียงและต่อรองให้ผู้ที่อยู่นอกศูนย์กลางของอํานาจ (กรุงเทพฯ)
บทบาท-ผลงาน
30
กรกฎาคม
2563
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ แกะรอยหนังสือนวนิยาย และภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" ซึ่งมาจากบทประพันธ์และการอำนวยการสร้างของนายปรีดี พนมยงค์ ที่สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2483 ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพียงเล็กน้อย
Subscribe to จอมพล ป. พิบูลสงคราม