ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

จอมพล ป. พิบูลสงคราม

เกร็ดประวัติศาสตร์
18
พฤศจิกายน
2567
การปฏิบัติการเสรีไทยในจังหวัดลำปาง นอกจากนายทหารเสรีไทยสายอังกฤษสังกัดกองกำลัง 136 และการปฏิบัติการได้รับความร่วมมือจากหลายภาคส่วนในพื้นที่
แนวคิด-ปรัชญา
16
พฤศจิกายน
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เขียนถึง การที่ประเทศไทยไม่มีเสถียรภาพทางการเมือง ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม พ.ศ. 2492 ภายหลังจากเหตุการณ์การจี้นายควง อภัยวงศ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
พฤศจิกายน
2567
ทัศนะต่อการรัฐประหาร 2490 และการลี้ภัยครั้งแรกไปยังสิงคโปร์และจีนของนายปรีดี พนมยงค์ ซึ่งนายปรีดีได้อธิบายการลี้ภัยไว้อย่างละเอียด ต่อมานายปรีดีได้เขียนถึงรัฐธรรมนูญฉะบับชั่วคราว 2490 ที่สะท้อนแนวคิดของฝ่ายอนุรักษนิยม
แนวคิด-ปรัชญา
28
ตุลาคม
2567
เปลื้อง วรรณศรี วิจารณ์การทำงานของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อ พ.ศ. 2493 ว่ามีลักษณะทอดทิ้งประชาชน ในนิตยสารรัฐบุรุษ ฉบับวันเกิดปรีดี พนมยงค์ 11 พฤษภาคม 2493
แนวคิด-ปรัชญา
20
ตุลาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เขียนถึงการฟื้นคืนอำนาจเผด็จการตั้งแต่การรัฐประหาร พ.ศ. 2490-2515 และวิเคราะห์สาเหตุรวมถึงการออกแบบการเมืองของคณะรัฐประหารในแต่ละยุค
แนวคิด-ปรัชญา
12
ตุลาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิจารณ์เรื่องการแถลงนโยบายของรัฐบาลเมื่อ พ.ศ. 2492 ว่าเป็นเสมือนคำอธิษฐานที่ไม่สามารถดำเนินการในทางปฏิบัติให้เป็นประโยชน์แก่ราษฎรได้โดยเฉพาะเรื่องการราชทัณฑ์
แนวคิด-ปรัชญา
25
กันยายน
2567
พิชัย เพ็ชรมะโนสัจจะ เขียนจดหมายถึงปรีดี พนมยงค์ ณ บ้านอองโตนี ประเทศฝรั่งเศส จำนวน 2 ฉบับในปี 2516 เกี่ยวกับการตั้งบุตรชายของตนเองว่า ปรีดี และมีจดหมายตอบกลับจากปรีดีถึงพิชัย 1 ฉบับ
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
กันยายน
2567
สาส์นของนายปรีดี พนมยงค์ ถึงนายสุกิจ นิมมานเหมินท์ รองนายกรัฐมนตรี ลงวันที่ 15 ธันวาคม 2516 อภิปรายเรื่องการเลือกตั้ง พ.ศ. 2489-2500 โดยเน้นการวิเคราะห์ไปที่การเลือกตั้ง 15 ธันวาคม 2500 โดยใช้สถิติจากหนังสือรายงานการเลือกตั้งสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรของกระทรวงมหาดไทยเล่ม 2 ประกอบการวิเคราะห์ดังกล่าว
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
กันยายน
2567
หลังจากการอภิวัฒน์สยาม ในระหว่างทางนี้ความเป็นประชาธิปไตยในแผ่นดินยังไม่คงมากนัก แต่กลับก่อให้เกิดนายกรัฐมนตรีที่มาจากการเลือกของประชาชนและผู้แทนที่มาจากพื้นที่นอกเมืองหลวงได้มีพื้นที่ทางการเมืองในรัฐสภา
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
กันยายน
2567
อัตชีวประวัติของนายเล้ง ศรีสมวงศ์ ในการทำงานด้านการคลัง และการธนาคาร โดยเฉพาะในช่วงที่ดำรงตำแหน่งผู้ว่าการธนาตารแห่งประเทศไทย กับการดำเนินงานด้านธนาคารพาณิชย์ของเอกชน และความสัมพันธ์กับนายปรีดี พนมยงค์
Subscribe to จอมพล ป. พิบูลสงคราม