ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

จอมพล ป. พิบูลสงคราม

แนวคิด-ปรัชญา
4
กุมภาพันธ์
2564
รุ่งขึ้นของเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 4 ของประเทศไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กุมภาพันธ์
2564
ผู้ก่อการรัฐประหารส่วนใหญ่เป็นนายทหารนอกประจำการ เริ่มแรกบรรดาผู้ก่อการต่างคนต่างคิดมีทั้งหมด 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีพวกพ้องของตนโดยเฉพาะที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งทั้ง หมดได้มาพบปะและรู้ความประสงค์ซึ่งกันและกัน โดยใช้วัตถุประสงค์ที่ร่วมกันร่างเป็น "ข้ออ้าง" ในการกระทำรัฐประหารในครานั้น
บทสัมภาษณ์
2
กุมภาพันธ์
2564
ก่อนหน้าที่จะมีรัฐประหาร มีข่าวลือว่าจะเกิดปฏิวัติรัฐประหาร หนังสือพิมพ์ศรีกรุง ฉบับประจำวันที่ 28 พฤศจิกายน 2489 ลงข่าวว่ารัฐบาลสั่งเตรียมพร้อม เนื่องจากว่ามีข่าวเรื่องนายทหารชั้นประทวนคบคิดกันจะใช้กำลังล้มล้างรัฐบาลในเดือนกรกฎาคม 2490
บทบาท-ผลงาน
26
มกราคม
2564
นายปรีดียังได้ชี้แจงแสดงหลักฐานไว้ด้วยว่า เวลานั้นรัฐบาลจอมพล ป. ประกาศสงครามต่อสหรัฐฯ ผ่านช่องทางใด?
บทบาท-ผลงาน
25
มกราคม
2564
นายปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในคณะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล มิได้ลงนามประกาศสงครามกับ ‘บริเตนใหญ่’ และสหรัฐอเมริกา ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งกลายมาเป็นเหตุหนึ่งในการประกาศความเป็นโมฆะ
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มกราคม
2564
ความสัมพันธ์ระหว่างไทยกับญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นอย่างไรบ้าง อ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้จากบทความของศาสตราจารย์ ดร.วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
มกราคม
2564
ภารกิจแรก ๆ ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ 'ปรีดี พนมยงค์' ซึ่งไปตรวจเยี่ยมดินแดนอีสานบริเวณชายฝั่งแม่น้ำโขง ทั้งยังข้ามฟากไปเยือนฝั่งหัวเมืองลาวที่อยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส อันเป็นภารกิจสำคัญซึ่งนำมาสู่ความเข้าใจสภาพการเมือง เศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎร เพื่อกำหนดนโยบายบริหารประเทศให้สัมฤทธิ์ผลก่อนหน้าสงครามโลกครั้งที่ 2 อุบัติขึ้น
ชีวิต-ครอบครัว
28
ธันวาคม
2563
ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ฟื้นความหลังผ่าน 'คำบอกเล่าถึงอดีต' ในฐานะภรรยาของรัฐบุรุษอาวุโส ปรีดี พนมยงค์ ผู้ก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475
15
ธันวาคม
2563
ผมเองอยากเสนอว่าให้เรียกยุคสมัย 2476 ถึง 2490 ว่าเป็น 'Regency Era' หรือยุคสมัยแห่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ 15 ปี หลาย ๆ คนอาจจะนึกถึงเรื่องราวต่าง ๆ แต่สำหรับผมแล้วก็จะมีตัวละครที่โดดเด่น ก็คือ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์หลาย ๆ ท่าน
แนวคิด-ปรัชญา
7
ธันวาคม
2563
เศรษฐกิจกับรัฐธรรมนูญสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดในลักษณะที่ทั้งเป็นการรับรองสิทธิของประชาชนภายในรัฐในทางเศรษฐกิจ และกำหนดกรอบทิศทางระบบเศรษฐกิจของรัฐจะมีรูปร่างหน้าตาเป็นอย่างไร
Subscribe to จอมพล ป. พิบูลสงคราม