ญี่ปุ่น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
16
พฤษภาคม
2568
บทบาทของคณะทูตไทยประจำญี่ปุ่นช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งมีเป้าหมายซ่อนเร้นในการติดต่อฝ่ายสัมพันธมิตร ขณะเดียวกันต้องรักษาความสัมพันธ์กับญี่ปุ่นในฐานะพันธมิตรทางการทูต
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
14
พฤษภาคม
2568
จากการที่ประเทศไทยให้ความร่วมมือกับญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 จึงเกิดความแตกแยกภายในของกลุ่มชาวไทยในต่างประเทศ อันได้แก่ กลุ่มในสหรัฐฯ จีน และอินเดีย และการเสียเปรียบจำยอมทางเศรษฐกิจต่อญี่ปุ่น นำมาซึ่งการขบวนต่อต้านของเสรีไทยในเวลาต่อมา
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
พฤษภาคม
2568
การเข้าร่วมสงครามโลกครั้งที่ 2 ของไทยข้างญี่ปุ่น จึงเป็นจุดเปลี่ยนสำคัญที่กระทบต่ออธิปไตยและหลักประชาธิปไตยของชาติ ที่ไม่สามารถทำให้ความสัมพันธ์ต่อประเทศสัมพันธมิตรดีขึ้นได้
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
6
เมษายน
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เสนอให้รัฐบาลรับฟังเสียงจากประชาชนที่วิพากษ์วิจารณ์นโยบายทางการทูต แต่เสียงของประชาชนที่รัฐบาลรับฟังกลับกลายเป็นโฆษณาชวนเชื่อ การสนับสนุนจากประชาชนจึงไม่เกิดขึ้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
14
มีนาคม
2568
การให้ความสำคัญต่อการวิเคราะห์ Mega Project ต้องสังเกตความคุ้มค่าหลายมิติที่ไม่ได้มีแค่เรื่องของตัวเลขทางเศรษฐศาสตร์ แต่รวมถึงภูมิรัฐศาสตร์ที่มีส่วนในการถ่วงดุลอำนาจต่อการลงทุนร่วมกันของหลายฝ่านที่ต้องคำนึงถึงบริบทอีกด้วย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
3
มีนาคม
2568
ไทยรอดจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ไม่ใช่เพราะ "ปาฏิหาริย์" แต่เพราะยุทธศาสตร์ทางการทูตและขบวนการเสรีไทย ทั้งนายปรีดี พนมยงค์ ปฏิเสธลงนามในประกาศสงครามฯ โดยต่อมาการประกาศสันติภาพในปี 2488 ยังช่วยให้ไทยไม่ตกเป็นประเทศผู้แพ้สงคราม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
1
มีนาคม
2568
บทความนี้โต้แย้งแนวคิดที่ว่าไทยรอดจากการเป็นผู้แพ้ในสงครามโลกครั้งที่ 2 ด้วยความบังเอิญ โดยเน้นบทบาทของขบวนการเสรีไทยและยุทธศาสตร์ทางการทูตของปรีดี พนมยงค์ ที่ช่วยให้ไทยไม่ตกเป็นประเทศผู้แพ้สงคราม
บทความ • วันนี้ในอดีต
12
กุมภาพันธ์
2568
ปรีดี พนมยงค์ ได้เข้ารับตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยและได้วางรากฐานการปกครองส่วนท้องถิ่นเอาไว้อย่างดี ต่อมายังได้เดินทางไปเจรจาสนธิสัญญาที่ไม่เป็นธรรมของประเทศมหาอำนาจต่าง ๆ จนเกิดผลดีต่อประเทศสยาม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2567
ในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ญี่ปุ่นได้มีการยกกำลังพลผ่านทางพื้นที่ทางอินโดจีน อย่างไรก็ตามการทำสงครามมีความจำเป็นในการซื้อเสบียงที่จำเป็นต่อกำลังพลในการทำสงคราม จึงขอยืมเงินไทยเพื่อซื้อเสบียงให้แก่กองทัพ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to ญี่ปุ่น
18
มกราคม
2567
เนื่องในวาระครบรอบ 119 ปี ชาตกาล 'ศาสตราจารย์ดิเรก ชัยนาม' จึงจะขอนำเสนอผลงานและแนวคิดสำคัญในแต่ละช่วงชีวิตดังต่อไปนี้ และไม่ค่อยมีการกล่าวถึงมาก่อน อาทิ ข้อเสนอระงับกรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศสในรายงานการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 6 วันที่ 14 ตุลาคม พุทธศักราช 2489 บทบาทในการก่อตั้งคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และดำรงตำแหน่งคณบดีคนแรก พ.ศ. 2492 และปาฐกถาพุทธศาสนากับการปกครอง พ.ศ. 2499