ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรีดี พนมยงค์

ชีวิต-ครอบครัว
15
กรกฎาคม
2567
บันทึกและข้อเขียนของสุภา ศิริมานนท์ และลูกศิษย์ใกล้ชิดของนายปรีดี พนมยงค์ที่ไปพบท่านในช่วงบั้นปลายของชีวิตถึงประวัติศาสตร์ 2475-2520 และแนวคิดสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ โดยนายปรีดีได้กล่าวถึงสิ่งที่กังวลต่อชาติบ้านเมืองคือ ‘อนาคตของประเทศไทย’
ชีวิต-ครอบครัว
14
กรกฎาคม
2567
สุวัฒน์ วรดิลก เล่าถึงความสัมพันธ์กับปรีดี พนมยงค์ ในทศวรรษ 2490 ภายหลังจากที่ปรีดีลี้ภัยไปจีนส่วนสุวัฒน์ได้พาคณะศิลปินเดินทางไปเปิดการแสดงยังจีนและได้พบปะกับปรีดีและได้ทราบกิจวัตรของปรีดีในจีนบางส่วนที่ไม่ค่อยได้มีการเปิดเผยโดยทั่วไป
บทบาท-ผลงาน
10
กรกฎาคม
2567
บันทึกประกอบคำประท้วง กรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ ตอนที่ 7 เสนอ 3 ประเด็นสำคัญคือ การนำรัฐธรรมนูญชั่วคราวขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ความคลาดเคลื่อนวันเวลาที่ผู้แทนคณะราษฎรเข้าเฝ้าฯ และการฝ่าฝืนความจริงเกี่ยวกับบุคคลที่เข้าเฝ้าฯ โดยนายปรีดี พนมยงค์ โต้แย้งด้วยหลักฐานฯ ที่หักล้างได้ทั้ง 3 ประการ
แนวคิด-ปรัชญา
9
กรกฎาคม
2567
ตึกโดมเป็นอาคารหลังแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง และเป็นสัญลักษณ์สำคัญของมหาวิทยาลัยโดยมีการสันนิษฐานว่าหลักการในการออกแบบมาจากหลัก 6 ประการ และสะท้อนรูปแบบของศิลปะสมัยคณะราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
7
กรกฎาคม
2567
ประชาธิปไตยสมบูรณ์ของปรีดี พนมยงค์ ประกอบด้วย ประชาธิปไตยทางเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม และทัศนะทางสังคมที่เป็นประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
6
กรกฎาคม
2567
ในตอนนี้กุหลาบ สายประดิษฐ์ได้กล่าวถึงการลาออกจากตำแหน่งผู้แทนราษฎรจังหวัดพระนครศรีอยุธยาของนายปรีดีที่ส่งผลต่อเหล่าเกษตรกรที่เป็นฐานเสียงของกลุ่มและความสำคัญของนายปรีดีที่มีความสนใจในด้านการเกษตรอย่างมา
บทบาท-ผลงาน
5
กรกฎาคม
2567
บทความนี้เสนอนโยบายการจัดการศึกษาหลังการอภิวัฒน์ 2475 ตามหลัก 6 ประการในข้อ 6. “จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร” ส่งผลให้มีการก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองขึ้นและในวันที่ 5 กรกฎาคม พ.ศ. 2482 ได้มีการแต่งตั้งศาสตราจารย์วิสามัญฯ ขึ้นซึ่งสะท้อนนัยการเมือง
บทบาท-ผลงาน
4
กรกฎาคม
2567
ข้อ 7. ของบันทึกประกอบคำประท้วงของปรีดี พนมยงค์ มี 3 ประเด็นที่นายปรีดี โต้แย้งหนังสือของนายประยูร ภมรมนตรี ได้แก่ 1. ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินซึ่งผู้แทนคณะราษฎรได้ทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อขอพระราชทานนั้นยังคงมี “เสนาบดี” หรือไม่? ประเด็น 2. พระยาทรงสุรเดชได้กำชับปรีดีให้ร่างรัฐธรรมนูญตามแบบอังกฤษหรือไม่ ประเด็น 3. พล.ท.ประยูรฯ ปฏิเสธว่าไม่ได้รู้เห็นด้วยในการร่างรัฐธรรมนูญนั้นฟังว่าเอาเป็นจริงได้หรือ
แนวคิด-ปรัชญา
2
กรกฎาคม
2567
ศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ เขียนถึงงานศึกษาเรื่องสันติวิธีของปรีดี พนมยงค์เรื่องพระเจ้าช้างเผือก โดยสุรัยยา (เบ็ญโส๊ะ) สุไลมาน ว่าไปไกลกว่าเรื่อง “ความเป็นจริงในประวัติศาสตร์” อย่างสงครามยุทธหัตถีคือมีทฤษฎีสันติภาพและสันติวิธีเข้ากับวิธีการศึกษาในสาขาวรรณคดีเปรียบเทียบ
ชีวิต-ครอบครัว
30
มิถุนายน
2567
บทความนี้เสนอเกร็ดประวัติศาสตร์เกี่ยวกับนายปรีดี พนมยงค์ และอนุสาร อ.ส.ท. โดยผู้เขียนนำเสนอข้อมูลใหม่ว่าก่อนหน้าที่นายปรีดีจะถึงแก่อสัญกรรมในวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2526 เพียงไม่นานได้มีผู้นำ อนุสาร อ.ส.ท. ฉบับประจำเดือนเมษายน พ.ศ. 2526 ฉบับแนะนำจังหวัดพระนครศรีอยุธยามาให้ และนายปรีดีอ่านอย่างละเอียด
Subscribe to ปรีดี พนมยงค์