ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ปรีดี พนมยงค์

เกร็ดประวัติศาสตร์
19
ตุลาคม
2563
การที่ปรีดีหวนรำลึกถึง ก.ศ.ร. กุหลาบ และเทียนวรรณ โดยเอ่ยขานผ่านข้อเขียนของตน ก็เพื่อจงใจเน้นย้ำให้คนรุ่นใหม่หันมาเล็งเห็นบทบาทของคนธรรมดาสามัญ
แนวคิด-ปรัชญา
16
ตุลาคม
2563
นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความให้ข้อคิดนิสิตนักศึกษา และประชาชนหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 ถึงการฟื้นกลับมาของอำนาจเผด็จการหลังการรัฐประหาร 2490 การปฏิวัติของจอมพล สฤษดิ์ ธนะรัชต์ 2500/2501 จนมาถึงการรัฐประหารตัวเองของจอมพล ถนอม กิตติขจร
แนวคิด-ปรัชญา
15
ตุลาคม
2563
ในปี 2516 ภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคมแล้ว นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความเพื่อถอดบทเรียนจากความผิดพลาดและล้มเหลวของคณะราษฎร และบางเรื่องในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่ตนเกี่ยวข้อง
บทบาท-ผลงาน
14
ตุลาคม
2563
หลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 นายปรีดี พนมยงค์ เขียนบทความที่พิจารณาถึงเจตนารมณ์ของวีรชน 14 ตุลาฯ พร้อมทั้งการตั้งข้อสังเกตเบื้องต้นถึงการพิทักษ์เจตนารมณ์ของเหล่าวีรชนไว้
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
ตุลาคม
2563
นายปรีดี พนมยงค์ อธิบายความเป็นมา ความหมายของประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ รวมไปถึงองค์ประกอบทางสังคมของมนุษย์ซึ่งสัมพันธ์ต่อการก่อร่างระบอบประชาธิปไตย นอกจากนี้นายปรีดียังได้ขยายความการมีส่วนร่วมทางการเมืองของประชาชน อีกทั้งพิจารณาความสำคัญของหลักการการปกครองของระบอบประชาธิปไตยในระบบรัฐสภา
เกร็ดประวัติศาสตร์
3
ตุลาคม
2563
ใครบ้างจะนึกฝันว่าเพื่อนร่วมห้องของข้าพเจ้าในคืนวันนั้นจะเปนผู้ให้กำเนิดรัฐธรรมนูญฉะบับแรกของเมืองไทย จะเปนคนสำคัญที่สุดคนหนึ่งของประเทศสยาม และถือทุกข์ สุข ของคนตั้ง ๑๑ ล้านคนไว้ในกำมือ?
บทบาท-ผลงาน
2
ตุลาคม
2563
เหตุใดหลวงประดิษฐ์มนูธรรม (ปรีดี พนมยงค์) จึงไม่ได้เป็นประธานสภาผู้แทนราษฎรนั้น อ่านต่อได้ในบทความของ 'อุดม เจริญรัตน์' เรื่องนี้
แนวคิด-ปรัชญา
1
ตุลาคม
2563
ชวนหาคำตอบจากบทความของ วิเชียร เพ่งพิศ ที่สำรวจความคิดและทัศนะของนายปรีดี พนมยงค์ เรื่องระบบรัฐสภาของไทย และการได้มาซึ่งสมาชิกรัฐสภา
แนวคิด-ปรัชญา
30
กันยายน
2563
28 มิถุนายน 2475 ณ พระที่นั่งอนันตสมาคม นายปรีดี พนมยงค์ เป็นเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ได้กล่าวถ้อยคำที่แสดงถึงความศักดิ์สิทธิ์ของสภาผู้แทนราษฎรด้วยความเข้มขลัง ไว้ในการประชุมสภาผู้แทนราษฎรครั้งแรก
บทสัมภาษณ์
29
กันยายน
2563
ปรัชญาทางการเมืองของข้าพเจ้า คือ สังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย (Scientific Democratic Socialism) เพราะว่าประชาธิปไตยและสังคมนิยมควรมีพื้นฐานเป็นวิทยาศาสตร์
Subscribe to ปรีดี พนมยงค์