ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระยาพหลพลพยุหเสนา

เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กุมภาพันธ์
2564
ผู้ก่อการรัฐประหารส่วนใหญ่เป็นนายทหารนอกประจำการ เริ่มแรกบรรดาผู้ก่อการต่างคนต่างคิดมีทั้งหมด 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีพวกพ้องของตนโดยเฉพาะที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งทั้ง หมดได้มาพบปะและรู้ความประสงค์ซึ่งกันและกัน โดยใช้วัตถุประสงค์ที่ร่วมกันร่างเป็น "ข้ออ้าง" ในการกระทำรัฐประหารในครานั้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
มกราคม
2564
เหตุใด ปรีดี พนมยงค์ จึงประกาศอย่างชัดเจนว่า นักวิชาการไม่ควรสอนต่อ ๆ กันเช่นนี้ หาคำตอบได้จากบทความชิ้นนี้
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
มกราคม
2564
วันที่ 21 ธันวาคม 2484 (หลังการบุกของญี่ปุ่นเพียง 13 วัน) จอมพล ป. ได้ลงนามในกติกาสัญญาพันธมิตรกับญี่ปุ่น และในวันที่ 25 มกราคม 2485 ในเวลาเพียงเดือนครึ่งถัดมา รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงครามก็ประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐฯ
เกร็ดประวัติศาสตร์
21
มกราคม
2564
ภารกิจแรก ๆ ของรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ 'ปรีดี พนมยงค์' ซึ่งไปตรวจเยี่ยมดินแดนอีสานบริเวณชายฝั่งแม่น้ำโขง ทั้งยังข้ามฟากไปเยือนฝั่งหัวเมืองลาวที่อยู่ภายใต้การปกครองของฝรั่งเศส อันเป็นภารกิจสำคัญซึ่งนำมาสู่ความเข้าใจสภาพการเมือง เศรษฐกิจ ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ และคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ของราษฎร เพื่อกำหนดนโยบายบริหารประเทศให้สัมฤทธิ์ผลก่อนหน้าสงครามโลกครั้งที่ 2 อุบัติขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
ธันวาคม
2563
'ชวลิต ตั้งวงษ์พิบูลย์' ตามรอยไปสืบดูถึงความเป็นไปในสถานที่นั้น พบว่า ผู้ก่อการมาดื่มกาแฟกันที่นี่: Café Select ไม่ใช่ Café de la Paix
แนวคิด-ปรัชญา
26
ธันวาคม
2563
บทความของท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ที่แสดงทัศนะถึงธรรมภาษิต 2 บทที่ยึดถือ คือ ธรรมย่อมคุ้มครองผู้ประพฤติธรรม และผลของการที่ก่อสร้างไว้ดีแล้วย่อมไม่สูญหาย
บทบาท-ผลงาน
19
ธันวาคม
2563
นายวิเชียร เพ่งพิศ ยกคำอธิบายของนายปรีดี พนมยงค์ ในหนังสือ 'คำอธิบายกฎหมายปกครอง' ซึ่งเขียนไว้ตั้งแต่ก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครอง มาอธิบายความเป็นไปในการร่างรัฐธรรมนูญที่นายปรีดีมีส่วนเกี่ยวข้อง
15
ธันวาคม
2563
ผมเองอยากเสนอว่าให้เรียกยุคสมัย 2476 ถึง 2490 ว่าเป็น 'Regency Era' หรือยุคสมัยแห่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ 15 ปี หลาย ๆ คนอาจจะนึกถึงเรื่องราวต่าง ๆ แต่สำหรับผมแล้วก็จะมีตัวละครที่โดดเด่น ก็คือ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์หลาย ๆ ท่าน
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
ตุลาคม
2563
ผศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ เสนอบทเรียนจากการปฏิรูปประเทศให้ทันสมัยในสมัยรัชกาลที่ 5 จนถึงการอภิวัฒน์ประชาธิปไตยโดยคณะราษฎร ว่าสามารถนำเป็นแนวคิดสำหรับประเทศในปัจจุบันและอนาคตได้ 8 ข้อ
แนวคิด-ปรัชญา
15
ตุลาคม
2563
ในปี 2516 ภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคมแล้ว นายปรีดี พนมยงค์ ได้เขียนบทความเพื่อถอดบทเรียนจากความผิดพลาดและล้มเหลวของคณะราษฎร และบางเรื่องในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทยที่ตนเกี่ยวข้อง
Subscribe to พระยาพหลพลพยุหเสนา