ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระยาพหลพลพยุหเสนา

แนวคิด-ปรัชญา
29
มีนาคม
2566
135 ปี ชาตกาล พระยาพหลพลพยุหเสนา กับคำปราศรัยที่ได้แสดงไว้ต่อปวงชน เมื่อคราวระบอบประชาธิปไตยปักหลักลงรากสู่แผ่นดินสยามได้ครบเป็นปีที่ 4 เรื่อง "การปกครองระบอบรัฐธรรมนูญ"
แนวคิด-ปรัชญา
10
มีนาคม
2566
ย้อนรอยสำรวจการเมืองแห่งการอ่าน ผ่านการปะทะโต้ตอบทางอุดมการณ์ด้วยการผลิตตีพิมพ์ซ้ำระหว่าง "เค้าโครงการเศรษฐกิจ" และ "พระบรมราชวินิจฉัยฯ" โดยเริ่มต้นข้อทบทวนความเป็นมาและเป้าหมายของเอกสารทางประวัติศาสตร์ทั้งสองฉบับ ก่อนจะนำไปสู่การพยายามรื้อฟื้นเอกสารทั้งสองฉบับในนับตั้งแต่ พ.ศ. 2490 เป็นต้นไป
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
มีนาคม
2566
บันทึกร่วมของ ร.ต.เนตร พูนวิวัฒน์ และ ร.ต.เหรียญ ศรีจันทร์ ผู้เป็นสมาชิกของคณะ ร.ศ. 130 บอกเล่าความเชื่อมร้อยทางความคิดในความพยายามของการเปลี่ยนแปลงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ไปสู่ระบอบประชาธิปไตย จากคณะ ร.ศ. 130 ถึง คณะราษฎรเมื่อครั้งการอภิวัฒน์สยาม 24 มิถุนายน 2475
แนวคิด-ปรัชญา
28
กุมภาพันธ์
2566
ภีรดา เขียนถึง การสร้างระบอบประชาธิปไตยให้ลงหลักปักฐานอย่างตั้งมั่น ผ่านแนวคิดสิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญอันเป็นหลักการคุณค่าสูงสุดของระบอบประชาธิปไตยบนหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย ท่ามกลางอุปสรรคการในการปกป้องระบอบประชาธิปไตยที่ต้องเผชิญกับการรัฐประหารด้วยอำนาจนอกระบบจากกลุ่มศักดินา
บทบาท-ผลงาน
16
กุมภาพันธ์
2566
แนวคิดการขุด "คอคอดกระ" หรือที่ประชาชนชาวไทยในปัจจุบันรู้จักในนาม "คลองไทย" ของ 'นายปรีดี พนมยงค์' เมื่อครั้งรั้งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา เมื่อปี พ.ศ. 2478 โดยผู้เขียนยังได้ยกเอาข้อเขียนของนายปรีดีซึ่งแสดงทัศนะต่อการขุดคลองคอคอดกระไว้ในต้นทศวรรษ 2500
แนวคิด-ปรัชญา
9
กุมภาพันธ์
2566
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง เขียนถึงศัพท์เกิดใหม่อย่าง "กรุงเทพอภิวัฒน์" โดยวิเคราะห์ผ่านความสัมพันธ์เชิงอำนาจระหว่างภาษาและการเมือง พร้อมทั้งบอกเล่าความเป็นมาของคำว่า "อภิวัฒน์" ซึ่งถูกนิยามและเชื่อมร้อยเข้ากับบริบททางการเมืองไทยเมื่อราวต้นทศวรรษ 2500 โดย นายปรีดี พนมยงค์ หนึ่งในสมาชิกคนสำคัญของคณะราษฎร
แนวคิด-ปรัชญา
15
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงความสำคัญของการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ อันมีหัวใจสำคัญคือการยึดโยงต่อประชาชน เพื่อการสถาปนารัฐและระบอบการเมืองที่มั่นคง พร้อมกันนี้ยังได้นำเสนอทางออกของวิกฤติที่ไทยกำลังเผชิญหน้ารวมทั้งสิ้น 6 ประการ เพื่อยุติความขัดแย้งและหาจุดร่วมให้แก่ความคิดเห็นที่แตกต่างกันของคนในสังคม
แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤศจิกายน
2565
'นริศ จรัสจรรยาวงศ์' เขียนถึงพิธีฝังหมุดคณะราษฎรในงานรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2479 กับบทความของ 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' สิงห์น้ำหมึกแห่งวรรณกรรมไทย ซึ่งได้เขียนถึงระบอบใหม่ของประเทศและความประทับใจในหมุดคณะราษฎรอันแสดงไว้ในบทความ "ระบอบรัฐธรรมนูญ" และ "ความเสมอภาค" ดังปรากฏในหนังสือพิมพ์ประชาชาติเมื่อกลางธันวาคมของปีเดียวกัน
บทบาท-ผลงาน
15
พฤศจิกายน
2565
ความพยายามของ 'นายปรีดี พนมยงค์' และ "คณะราษฎร" ว่าด้วยฐานคิดในการออกแบบการเลือกตั้งครั้งแรกของสยาม อีกทั้งอุปสรรคที่นายปรีดีต้องประสบด้วยเหตุ "ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ" ครั้นเมื่อการเมืองกลับสู่สภาวะปกติและการเลือกตั้งได้บังเกิดในที่สุด ราษฎรสยามตื่นตัวและให้ความสำคัญต่อระบอบใหม่ ดังปรากฏบนหน้าหนังสือพิมพ์ "ประชาชาติ"
ชีวิต-ครอบครัว
30
ตุลาคม
2565
108 ปี ชาตกาล 'จำกัด พลางกูร'
Subscribe to พระยาพหลพลพยุหเสนา