ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระยาพหลพลพยุหเสนา

บทบาท-ผลงาน
22
พฤศจิกายน
2567
บทบาทและผลงานของนายปรีดี พนมยงค์ ในด้านการต่างประเทศนับได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสมัยแรกในรัฐบาลพระยาพหลฯ จนสิ้นทศวรรษ 2480
บทบาท-ผลงาน
15
พฤศจิกายน
2567
การเลือกตั้งทั่วไปครั้งแรกของสยามใน พ.ศ. 2476 มีขึ้นระหว่างวันที่ 15-28 พฤศจิกายน พ.ศ. 2475 และข้อที่ 4 ของหลัก 6 ประการในเรื่องจะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกันอันเป็นการมอบสิทธิเสมอภาคทางการเมืองให้แก่พลเมืองครั้งแรก
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
ตุลาคม
2567
วาระครบรอบ 91 ปี กบฏบวรเดช ภายหลังเหตุการณ์การหายไปของอนุสาวรีย์ปราบกบฏและการหวนกลับของกบฏบวรเดช สะท้อนให้เห็นถึงพื้นที่อนุสาวรีย์ที่ยังเป็นพื้นที่ความทรงจำตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
ตุลาคม
2567
บันทึกความทรงจำเรื่อง “ตำรวจเชลย” ที่มีบทบาทในการปราบกบฏบวรเดช โดยผ่านหลักฐานความทรงจำและหลักฐานชั้นต้น
แนวคิด-ปรัชญา
8
ตุลาคม
2567
นายปรีดี พนมยงค์ ระบุไว้ในบันทึกประกอบการประท้วงว่าหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยนายประยูร ภมรมนตรี บิดเบือนข้อเท็จจริงเรื่องการอภิวัฒน์สยามคือนายประยูรอ้างว่าตนเป็นผู้ที่ชักชวนให้บุคคลสำคัญมาเข้าร่วมการอภิวัฒน์
บทบาท-ผลงาน
29
กันยายน
2567
29 กันยายน พ.ศ. 2476 วันกลับสู่มาตุภูมิอย่างสง่างามจากปารีสสู่กรุงเทพฯ ของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม หลังกรณีสมุดปกเหลือง และพระยาพหลพลพยุหเสนาได้ทำการรัฐประหารล้มล้างรัฐบาลของพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2476
บทบาท-ผลงาน
26
กันยายน
2567
บันทึกประกอบคำประท้วงกรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ นายปรีดี พนมยงค์ ได้โต้แย้งประเด็นการเสนอเค้าโครงเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์ ก่อนเหตุการณ์การเปลี่ยนแปลงการปกครอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
23
กันยายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์เขียนจดหมายถึงนายประเสริฐ ปัทมสุคนธ์ อดีตเลขาธิการรัฐสภา เพื่อแสดงทัศนะและเสนอแนะต่อหนังสือรัฐสภาไทยในรอบสี่สิบสองปี
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
กันยายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เน้นการอธิบายและชี้แจ้งเกี่ยวกับรายงานการประชุมกรรมานุการ เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2476 และกรณีเค้าโครงการเศรษฐกิจหรือสมุดปกเหลือง รวมถึงเรื่องสภาเศรษฐกิจแห่งชาติที่แตกต่างจากหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าฯ
บทบาท-ผลงาน
13
กันยายน
2567
บทความนี้เสนอผลของการสอบสวนกรรมาธิการซึ่งสภาผู้แทนราษฎรตั้งขึ้นเพื่อสอบสวนนายปรีดี พนมยงค์ว่าเป็นคอมมูนิสต์หรือไม่ โดยสภาฯ ได้พิจารณารายงานการสอบสวนนี้ในวันที่ 10 มีนาคม 2476 โดยลงมติว่า นายปรีดีไม่มีมลทินเป็นคอมมิวนิสต์
Subscribe to พระยาพหลพลพยุหเสนา