ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระยาพหลพลพยุหเสนา

แนวคิด-ปรัชญา
15
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงความสำคัญของการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ อันมีหัวใจสำคัญคือการยึดโยงต่อประชาชน เพื่อการสถาปนารัฐและระบอบการเมืองที่มั่นคง พร้อมกันนี้ยังได้นำเสนอทางออกของวิกฤติที่ไทยกำลังเผชิญหน้ารวมทั้งสิ้น 6 ประการ เพื่อยุติความขัดแย้งและหาจุดร่วมให้แก่ความคิดเห็นที่แตกต่างกันของคนในสังคม
แนวคิด-ปรัชญา
25
พฤศจิกายน
2565
'นริศ จรัสจรรยาวงศ์' เขียนถึงพิธีฝังหมุดคณะราษฎรในงานรัฐธรรมนูญเมื่อวันที่ 10 ธันวาคม 2479 กับบทความของ 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' สิงห์น้ำหมึกแห่งวรรณกรรมไทย ซึ่งได้เขียนถึงระบอบใหม่ของประเทศและความประทับใจในหมุดคณะราษฎรอันแสดงไว้ในบทความ "ระบอบรัฐธรรมนูญ" และ "ความเสมอภาค" ดังปรากฏในหนังสือพิมพ์ประชาชาติเมื่อกลางธันวาคมของปีเดียวกัน
บทบาท-ผลงาน
15
พฤศจิกายน
2565
ความพยายามของ 'นายปรีดี พนมยงค์' และ "คณะราษฎร" ว่าด้วยฐานคิดในการออกแบบการเลือกตั้งครั้งแรกของสยาม อีกทั้งอุปสรรคที่นายปรีดีต้องประสบด้วยเหตุ "ร่างเค้าโครงการเศรษฐกิจ" ครั้นเมื่อการเมืองกลับสู่สภาวะปกติและการเลือกตั้งได้บังเกิดในที่สุด ราษฎรสยามตื่นตัวและให้ความสำคัญต่อระบอบใหม่ ดังปรากฏบนหน้าหนังสือพิมพ์ "ประชาชาติ"
ชีวิต-ครอบครัว
30
ตุลาคม
2565
108 ปี ชาตกาล 'จำกัด พลางกูร'
บทบาท-ผลงาน
16
ตุลาคม
2565
คำบรรยายของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ต่อปลัดจังหวัดและนายอำเภอจำนวนทั้งสิ้น 94 คน คณะผู้จัดการอบรม และบุคคลอื่นๆ ที่สนใจร่วมเข้าฟัง โดยนายปรีดีได้เน้นย้ำความสำคัญของการสถาปนาระบอบรัฐธรรมนูญจะสำเร็จได้นั้น ล้วนต้องอาศัยความร่วมมือจากเหล่าข้าราชการท้องถิ่นซึ่งเป็นผู้ใกล้ชิดประชาชน
บทบาท-ผลงาน
15
ตุลาคม
2565
15 ตุลาคม พ.ศ. 2479 เป็นวันที่ทางราชการในสมัยรัฐบาลของพระยาพหลพลพยุหเสนา ได้สร้างอนุสาวรีย์ 17 ทหาร-ตำรวจขึ้น ณ ตำบลหลักสี่ อำเภอบางเขน จังหวัดพระนคร เพื่ออุทิศแด่ผู้ที่เสียชีวิตจากการเข้าร่วมปราบปรามกบฏบวรเดช ระหว่างวันที่ 11-24 ตุลาคม พ.ศ. 2476
บทบาท-ผลงาน
11
ตุลาคม
2565
"กบฏบวรเดช" เหตุการณ์สำคัญในระยะเปลี่ยนผ่านของการเมืองไทย วิเคราะห์ผ่านการขับเคี่ยวของชุดประวัติศาสตร์ นำไปสู่การตีความที่แตกต่างกัน โดยมีตัวแปรสำคัญคือ อุดมการณ์ทางการเมืองของผู้ถ่ายทอดซึ่งเป็นประจักษ์พยานในเหตุการณ์และนักวิชาการในเวลาต่อมา อีกทั้งนำเสนอเอกสารทางประวัติศาสตร์ คือ เอกสาร "การตรวจสอบโทรเลข" อันปรากฏบทบาทของ 'นายปรีดี พนมยงค์'
บทบาท-ผลงาน
3
ตุลาคม
2565
ความพยายามของรัฐบาลคณะราษฎรในการสร้างความเข้าใจต่อประชาชนสำหรับการเลือกตั้งทางตรงครั้งแรกในปี พ.ศ. 2480 ผ่านการจัดอบรม ณ มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ให้แก่เหล่าข้าราชการท้องถิ่น ได้แก่ ปลัดจังหวัด และนายอำเภอ ข้าราชการผู้ใกล้ชิดราษฎรซึ่งถือเป็นสื่อกลางในการประชาสัมพันธ์ต่อการเลือกตั้งที่กำลังจะมาถึง
แนวคิด-ปรัชญา
9
สิงหาคม
2565
ฐานคิดว่าด้วยสันติภาพผ่านนโยบายการต่างประเทศที่เกิดขึ้นหลังการอภิวัฒน์สยาม ภายใต้การดำเนินงานในรัฐบาลของพระยาพหลฯ ซึ่งมีนายปรีดี เป็น รมต.กระทรวงการต่างประเทศในขณะนั้น ซึ่งตั้งอยู่ในบนหลักของการรักษาดุลแห่งอำนาจซึ่งถือเป็นรากฐานสำคัญที่ส่งผลต่อการกำหนดนโยบายต่างประเทศก่อนที่สงครามโลกครั้งที่ 2 จะเปิดฉากในช่วง 2 ทศวรรษต่อมา
บทบาท-ผลงาน
5
กรกฎาคม
2565
ข้าพเจ้ารู้จักปราโมทย์ฯ ตั้งแต่ก่อน พ.ศ. 2475 ขณะที่ปราโมทย์ฯ เป็นนักเรียนกฎหมายกระทรวงยุติธรรมซึ่งข้าพเจ้าเป็นผู้สอนคนหนึ่งแห่งโรงเรียนนั้น
Subscribe to พระยาพหลพลพยุหเสนา