พระยาพหลพลพยุหเสนา
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
7
กันยายน
2567
ในทศวรรษ 2470 นายปรีดี พนมยงค์ ได้ถูกกล่าวหาและตั้งข้อสังเกตว่าเป็นคอมมิวนิสต์ โดยต่อมาพระยาพหลพลพยุหเสนาได้เสนอนามเป็นผู้เชี่ยวชาญที่ปรึกษาทำการสอบสวน นายปรีดี พนมยงค์ ว่าเป็นคอมมูนิสต์หรือไม่ แล้วให้กรรมาธิการเสนอผลการสอบสวนต่อสภาฯ เพื่อพิจารณาต่อไป
บทความ • บทบาท-ผลงาน
23
กรกฎาคม
2567
การแข่งขันโต้วาทีครั้งแรกของสยามในวันที่ 18 สิงหาคม 2478 ด้วยญัตติ “ร้อนดีกว่าเย็น” มีพระยาโอวาทวรกิจ เป็นหัวหน้าฝ่ายเสนอ และมีรองอำมาตย์โทวิเชียร ฉายจรรยา เป็นหัวหน้าฝ่ายค้าน โดยมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงธรรมการคือ พระสารสาสน์ประพันธ์สนับสนุนให้จัดการแข่งขันโต้วาทีชิงรางวัลขึ้น
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
15
กรกฎาคม
2567
บันทึกและข้อเขียนของสุภา ศิริมานนท์ และลูกศิษย์ใกล้ชิดของนายปรีดี พนมยงค์ที่ไปพบท่านในช่วงบั้นปลายของชีวิตถึงประวัติศาสตร์ 2475-2520 และแนวคิดสังคมนิยมวิทยาศาสตร์ โดยนายปรีดีได้กล่าวถึงสิ่งที่กังวลต่อชาติบ้านเมืองคือ ‘อนาคตของประเทศไทย’
บทความ • บทบาท-ผลงาน
10
กรกฎาคม
2567
บันทึกประกอบคำประท้วง กรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินฯ ตอนที่ 7 เสนอ 3 ประเด็นสำคัญคือ การนำรัฐธรรมนูญชั่วคราวขึ้นทูลเกล้าฯ ถวายพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ความคลาดเคลื่อนวันเวลาที่ผู้แทนคณะราษฎรเข้าเฝ้าฯ และการฝ่าฝืนความจริงเกี่ยวกับบุคคลที่เข้าเฝ้าฯ โดยนายปรีดี พนมยงค์ โต้แย้งด้วยหลักฐานฯ ที่หักล้างได้ทั้ง 3 ประการ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
4
กรกฎาคม
2567
ข้อ 7. ของบันทึกประกอบคำประท้วงของปรีดี พนมยงค์ มี 3 ประเด็นที่นายปรีดี โต้แย้งหนังสือของนายประยูร ภมรมนตรี ได้แก่ 1. ธรรมนูญการปกครองแผ่นดินซึ่งผู้แทนคณะราษฎรได้ทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อขอพระราชทานนั้นยังคงมี “เสนาบดี” หรือไม่? ประเด็น 2. พระยาทรงสุรเดชได้กำชับปรีดีให้ร่างรัฐธรรมนูญตามแบบอังกฤษหรือไม่ ประเด็น 3. พล.ท.ประยูรฯ ปฏิเสธว่าไม่ได้รู้เห็นด้วยในการร่างรัฐธรรมนูญนั้นฟังว่าเอาเป็นจริงได้หรือ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2567
ปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโสได้ จากมาตุภูมิไปเยือนมิตรประเทศ ในนามทูตสันถวไมตรีของประเทศไทยเมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2489 ราว 3 เดือนครึ่งโดยไปเยือนประเทศจีนเป็นแห่งแรกจากนั้นจึงมุ่งสู่ฟิลิปปินส์ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ฝรั่งเศส สวิตเซอรแลนด์ เดนมารค สวีเดน และนอรเวย์ รวม 9 ประเทศ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
26
มิถุนายน
2567
บันทึกประกอบคำประท้วง กรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดิน เรื่องข้อเท็จจริงในการอภิวัฒน์ 2475 ตอนที่ 5 ชี้ให้เห็นว่ามีการบิดเบือนเรื่องสำคัญคือ ได้ล้มเลิกโครงการเศรษฐกิจพลิกแผ่นดินของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม และได้ปรับปรุงรัฐธรรมนูญ และเลิกคําว่ากรรมการราษฎร (แทนเสนาบดี) มาเป็น “รัฐมนตรี” ซึ่งจากข้อเท็จจริงจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์พบว่า ไม่เป็นความจริงทั้ง 2 ประการ
ข่าวสาร
25
มิถุนายน
2567
วันที่ 24 มิถุนายน 2567 ทายาทสมาชิกคณะราษฎรร่วมทำบุญให้แก่บรรพบุรุษ ณ วัดพระศรีมหาธาตุวรมหาวิหาร บางเขน กรุงเทพมหานคร เนื่องในวันครบรอบ 92 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม หรือเปลี่ยนแปลงการปกครองจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มาสู่ระบอบราชาธิปไตยใต้รัฐธรรมนูญประชาธิปไตย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มิถุนายน
2567
ในตอนนี้กุหลาบ สายประดิษฐ์ได้ระลึกถึงพระคุณทางการเมืองและการสนทนาของเชรษฐบุรุษแห่งระบอบประชาธิปไตยหรือพระยาพหลพลพยุหเสนาในช่วงวาระสุดท้ายของชีวิตท่านหลังจากได้วางมือจากภาระหน้าที่ทางการเมือง
บทความ • บทบาท-ผลงาน
Subscribe to พระยาพหลพลพยุหเสนา
19
มิถุนายน
2567
บันทึกประกอบคำประท้วง กรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดิน เรื่องข้อเท็จจริงในการอภิวัฒน์ 2475 ตอนที่ 4 ชี้ให้เห็นว่าข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยประยูร ภมรมนตรี บิดเบือนเรื่องข้อเท็จจริงเรื่องการเป็นหัวหน้าคณะราษฎรของนายปรีดี พนมยงค์