ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระเจ้าช้างเผือก

แนวคิด-ปรัชญา
10
พฤษภาคม
2568
เมื่อ “ความรุนแรงไม่ได้อยู่ไม่ได้อยู่แค่ในสงคราม” จึงขอชวนทำความเข้าใจมิติความรุนแรงที่ซับซ้อน ผ่านบทสนทนาระหว่าง สุรัยยา (เบ็ญโส๊ะ) สุไลมาน และ ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ ถึงมิติความรุนแรงเชิงโครงสร้าง เพื่อการแสวงหาสันติภาพอย่างแท้จริง
บทบาท-ผลงาน
24
เมษายน
2568
ในวาระที่องค์การการศึกษา วิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (UNESCO) ขึ้นทะเบียน “ภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือก” เป็นมรดกความทรงจำแห่งโลก ภาพยนตร์อันทรงคุณค่าทางประวัติศาสตร์ และสะท้อนแนวคิดเรื่องสันติภาพในบริบทก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่นายปรีดีผลักดันผ่านการนำเสนอภาพ “อยุธยาใหม่”
บทบาท-ผลงาน
22
เมษายน
2568
กำเนิดหลักการ นโยบาย และปฏิบัติการเพื่อสันติภาพของนายปรีดี พนมยงค์ ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 โดยเสนอหลักการ และแนวทางสันติภาพเชิงนโยบายผ่านเอกสารทางการ ข้อเขียน และประกาศสันติภาพ ขณะที่ปฏิบัติการสันติภาพผ่านขบวนการเสรีไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
13
เมษายน
2568
ช่วงชีวิตหนึ่งเจ้าวงศ์ แสนศิริพันธุ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดแพร่คนแรก กับบทบาทและความสัมพันธ์ระหว่างนายปรีดี พนมยงค์และเจ้าวงศ์ ตั้งแต่ช่วงเวลาการถ่ายภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือก ภาพยนตร์ถ่ายทำที่จังหวัดแพร่ และบทบาทสมาชิกขบวนการเสรีไทยจังหวัดแพร่ กับการมีส่วนร่วมในการจัดตั้งและดำเนินงานของขบวนการเสรีไทย
บทสัมภาษณ์
8
เมษายน
2568
PRIDI Interview สรรเสริญ และกฤต ไกรจิตติ เสนอประวัติชีวิต บทบาท และผลงานของนายปรีดี พนมยงค์ และพระยามโนปกรณ์นิติธาดา ผ่านหลักฐานชั้นต้นหนังสืออนุสรณ์งานศพและประสบการณ์ส่วนบุคคลของทั้งสองท่าน
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
ธันวาคม
2567
เกร็ดประวัติศาสตร์ จากหลักฐานทางเอกสาร ในช่วงเวลาภายหลังเหตุการณ์ทางการเมืองทำให้นายปรีดี พนมยงค์ มีความคิดที่อยากจะลี้ภัยไปประเทศสวีเดน และ เหตุการณ์การจัดฉายภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือก เมื่อครั้งนายปรีดี พนมยงค์และคณะเดินทางไปเจริญสันถวไมตรี กับหลายประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่ 2
บทบาท-ผลงาน
22
พฤศจิกายน
2567
บทบาทและผลงานของนายปรีดี พนมยงค์ ในด้านการต่างประเทศนับได้รับแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศสมัยแรกในรัฐบาลพระยาพหลฯ จนสิ้นทศวรรษ 2480
บทบาท-ผลงาน
29
กรกฎาคม
2567
ข้อเขียนที่เน้นเรื่องแนวคิดของนายปรีดี พนมยงค์ต่อสงครามโลก ครั้งที่ 2 จากงานเสวนาภาพยนตร์ เรื่องพระเจ้าช้างเผือก โดยสุรัยยา สุไลมาน และโดม สุขวงศ์ ที่จัดขึ้นในวาระ 70 ปี วันสันติภาพไทย เมื่อวันอาทิตย์ที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2559 ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
แนวคิด-ปรัชญา
2
กรกฎาคม
2567
ศาสตราจารย์ ดร.ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ เขียนถึงงานศึกษาเรื่องสันติวิธีของปรีดี พนมยงค์เรื่องพระเจ้าช้างเผือก โดยสุรัยยา (เบ็ญโส๊ะ) สุไลมาน ว่าไปไกลกว่าเรื่อง “ความเป็นจริงในประวัติศาสตร์” อย่างสงครามยุทธหัตถีคือมีทฤษฎีสันติภาพและสันติวิธีเข้ากับวิธีการศึกษาในสาขาวรรณคดีเปรียบเทียบ
บทบาท-ผลงาน
11
พฤษภาคม
2567
15 ผลงานสำคัญของนายปรีดี พนมยงค์ ในการเมืองไทยช่วง 15 ปี ระหว่าง พ.ศ. 2475-2490 โดยเป็นผู้นำสายพลเรือนก่อการอภิวัฒน์ 24 มิถุนายน 2475 เป็นผู้ร่างรัฐธรรมนูญฉบับแรกของสยาม เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจแห่งชาติ จัดตั้งเทศบาลทั่วประเทศ ก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง เจรจาแก้ไขสนธิสัญญาที่ไม่เสมอภาค ทำให้ไทยได้รับเอกราชอธิปไตยสมบูรณ์ ปรับปรุงภาษี และสถาปนาประมวลรัษฎากรขึ้นเป็นครั้งแรก ก่อตั้งธนาคารชาติ สร้างภาพยนตร์พระเจ้าช้างเผือก แนวคิดการจัดตั้ง “องค์กรสันนิบาตเอเชียตะวันออกเฉียงใต้” ซื้อทองคำเพื่อป้องกันชาติ จัดตั้งขบวนการเสรีไทย ทำให้ไทยรอดพ้นจากการเป็นผู้แพ้สงคราม ดำรงตำแหน่งรัฐบุรุษอาวุโส ร่างรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2489 และดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรี
Subscribe to พระเจ้าช้างเผือก