ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

พระเจ้าช้างเผือก

บทบาท-ผลงาน
3
เมษายน
2564
การที่การเมืองขัดแย้งรุนแรงในวันนี้ ย่อมสามารถแก้ไขได้ด้วยหลักสันติธรรม ภราดรภาพ และการให้อภัย
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
เมษายน
2564
พระเจ้าช้างเผือก : ภาพยนตร์แห่งสันติภาพท่ามกลางกองเพลิงสงคราม
23
มีนาคม
2564
“พระเจ้าช้างเผือก” นับเป็นภาพยนตร์ไทยขนาดยาวที่เก่าแก่ที่สุด ที่ยังคงหลงเหลืออยู่อย่างครบสมบูรณ์ ปัจจุบัน ฟิล์มภาพยนตร์และสิ่งเกี่ยวเนื่องต่าง ๆ ของ “พระเจ้าช้างเผือก” ได้รับการอนุรักษ์อยู่ที่หอภาพยนตร์ และได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนให้เป็นหนึ่งในมรดกภาพยนตร์ของชาติชุดแรก เมื่อ พ.ศ. 2554
ชีวิต-ครอบครัว
3
มกราคม
2564
บางส่วนจากทัศนะของศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่มีต่อท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
28
ธันวาคม
2563
นายปรีดิวิชญ์ พนมยงค์ เป็นตัวแทนทายาทนายปรีดี พนมยงค์ มอบรางวัล “ช้างเผือก” แก่ผู้ชนะการประกวดหนังสั้น ในเทศกาลภาพยนต์สั้นครั้งที่ 24 (24th Thai Short Film and Video Festival) ซึ่งเป็นเทศกาลภาพยนตร์ที่จัดต่อเนื่องยาวนานที่สุดของประเทศไทย โดยหอภาพยนตร์ (องค์การมหาชน)
ศิลปะ-วัฒนธรรม
31
ตุลาคม
2563
คนทั่วไปมักรู้จักงานประพันธ์ของนายปรีดี พนมยงค์ เพียงแต่ในส่วนของผลงานร้อยแก้ว นั่นคือ นวนิยายและบทภาพยนตร์เรื่อง "พระเจ้าช้างเผือก" รวมถึงบทความต่าง ๆ ทว่ายังมีงานประพันธ์ของปรีดีอีกรูปแบบหนึ่งซึ่งไม่ค่อยมีใครเอ่ยถึงนัก ได้แก่ ผลงานร้อยกรองหรือบทกวี
17
สิงหาคม
2563
'อนุสรณ์ ธรรมใจ' ประธานกรรมการบริหารสถาบันปรีดี พนมยงค์ บรรยายบทเรียนจากขบวนการเสรีไทยว่าด้วย วิกฤตเศรษฐกิจและการอภิวัฒน์สู่สันติ ในวาระ 75 ปีวันสันติภาพไทย แนะแนวทางออกจากวิกฤตการณ์ทางการเมืองและความเสี่ยงของความรุนแรงและการรัฐประหารครั้งใหม่ ชี้การต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยและสันติธรรมเป็นสงครามยืดเยื้อ อาจต้องใช้เวลาชั่วชีวิต  
5
สิงหาคม
2563
สถาบันปรีดี พนมยงค์ รวบรวมหนังสือประจำเดือนกรกฎาคม ชวนผู้อ่านรำลึก "วาระครบรอบ 75 ปี วันสันติภาพไทย" ในวันที่ 16 สิงหาคมนี้ วันที่นายปรีดี พนมยงค์ออกประกาศสันติภาพให้สถานะสงครามกับอังกฤษ-สหรัฐฯ เป็นโมฆะ ดังนั้น 16 สิงหาคม 2488 จึงนับว่าเป็นหมุดหมายครั้งสำคัญทางประวัติศาสตร์การเมืองไทยร่วมสมัย
บทบาท-ผลงาน
30
กรกฎาคม
2563
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ แกะรอยหนังสือนวนิยาย และภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" ซึ่งมาจากบทประพันธ์และการอำนวยการสร้างของนายปรีดี พนมยงค์ ที่สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2483 ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพียงเล็กน้อย
บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2563
ในวาระ 86 ปีแห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอร่วมรำลึกถึงโอกาสพิเศษนี้ผ่านบทความของศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เรื่อง "ปรีดี พนมยงค์ กับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (2)" ซึ่งเป็นตอนจบ ที่กล่าวถึงการบริหาร หลักสูตร การเรียนการสอนในยุคที่นายปรีดีเป็นผู้ประศาสน์การ รวมถึงสิ่งที่เรียกว่า ชีวิตและวิญญาณของธรรมศาสตร์ในยุคนั้น
Subscribe to พระเจ้าช้างเผือก