พระเจ้าช้างเผือก
ข่าวสาร
17
สิงหาคม
2563
'อนุสรณ์ ธรรมใจ' ประธานกรรมการบริหารสถาบันปรีดี พนมยงค์ บรรยายบทเรียนจากขบวนการเสรีไทยว่าด้วย วิกฤตเศรษฐกิจและการอภิวัฒน์สู่สันติ ในวาระ 75 ปีวันสันติภาพไทย แนะแนวทางออกจากวิกฤตการณ์ทางการเมืองและความเสี่ยงของความรุนแรงและการรัฐประหารครั้งใหม่ ชี้การต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยและสันติธรรมเป็นสงครามยืดเยื้อ อาจต้องใช้เวลาชั่วชีวิต
ข่าวสาร
5
สิงหาคม
2563
สถาบันปรีดี พนมยงค์ รวบรวมหนังสือประจำเดือนกรกฎาคม ชวนผู้อ่านรำลึก "วาระครบรอบ 75 ปี วันสันติภาพไทย" ในวันที่ 16 สิงหาคมนี้ วันที่นายปรีดี พนมยงค์ออกประกาศสันติภาพให้สถานะสงครามกับอังกฤษ-สหรัฐฯ เป็นโมฆะ ดังนั้น 16 สิงหาคม 2488 จึงนับว่าเป็นหมุดหมายครั้งสำคัญทางประวัติศาสตร์การเมืองไทยร่วมสมัย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
30
กรกฎาคม
2563
ศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ แกะรอยหนังสือนวนิยาย และภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" ซึ่งมาจากบทประพันธ์และการอำนวยการสร้างของนายปรีดี พนมยงค์ ที่สร้างขึ้นใน พ.ศ. 2483 ก่อนสงครามโลกครั้งที่ 2 เพียงเล็กน้อย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2563
ในวาระ 86 ปีแห่งการสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ขอร่วมรำลึกถึงโอกาสพิเศษนี้ผ่านบทความของศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ เรื่อง "ปรีดี พนมยงค์ กับมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (2)" ซึ่งเป็นตอนจบ ที่กล่าวถึงการบริหาร หลักสูตร การเรียนการสอนในยุคที่นายปรีดีเป็นผู้ประศาสน์การ รวมถึงสิ่งที่เรียกว่า ชีวิตและวิญญาณของธรรมศาสตร์ในยุคนั้น
2
มีนาคม
2563
The king of the white elephant
พระเจ้าช้างเผือกเป็นนวนิยายที่ปรับแต่งมาจากบทภาพยนตร์ที่มีชื่ออย่างเดียวกันของปรีดี พนมยงค์ โดยเป็นนวนิยายเรื่องแรกและเรื่องเดียว เรื่องราวดำเนินไปผ่านตัวละครสำคัญคือ พระเจ้าจักราพระมหากษัตริย์แห่งอโยธยา โดยมีเหตุการณ์สำคัญคือสงครามระหว่างพระเจ้าจักราและพระเจ้ากรุงหงสาวดี เนื้อเรื่องยังได้ถ่ายทอดประเด็นสำคัญต่างๆ ในระดับสากลมาไว้ในเรื่อง เช่น สิทธิของชนพื้นเมือง การล่าอาณานิมคม และการธำรงค์สันติภาพ เป็นต้น
1
มีนาคม
2563
พระเจ้าช้างเผือก
พระเจ้าช้างเผือกเป็นนวนิยายที่ปรับแต่งมาจากบทภาพยนตร์ที่มีชื่ออย่างเดียวกันของปรีดี พนมยงค์ โดยเป็นนวนิยายเรื่องแรกและเรื่องเดียว เรื่องราวดำเนินไปผ่านตัวละครสำคัญคือ พระเจ้าจักราพระมหากษัตริย์แห่งอโยธยา โดยมีเหตุการณ์สำคัญคือสงครามระหว่างพระเจ้าจักราและพระเจ้ากรุงหงสาวดี เนื้อเรื่องยังได้ถ่ายทอดประเด็นสำคัญต่างๆ ในระดับสากลมาไว้ในเรื่อง เช่น สิทธิของชนพื้นเมือง การล่าอาณานิมคม และการธำรงค์สันติภาพ เป็นต้น