พูนศุข พนมยงค์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
28
พฤษภาคม
2566
โฮจิมินห์ เชิญ นายปรีดี พนมยงค์ พร้อมด้วยคณะติดตามเดินทางไปยังเวียดนาม การเยี่ยมเยือนในครั้งนั้นเป็นไปอย่างด้วยความชื่นมื่นระหว่างสองผู้อภิวัฒน์ ถึงแม้คราวนี้จะเป็นครั้งแรกที่บุรุษทั้งสองได้พบปะกัน ทว่ากลับอบอวลไปด้วยบทสนทนาที่ลื่นไหลและถูกคอ ส่งผลความสัมพันธ์อันดีของทั้งสองประเทศดำเนินมาจนกระทั่งปัจจุบัน
ข่าวสาร
12
พฤษภาคม
2566
ในวันที่ 11 พฤษภาคม 2566 เป็นวาระ 123 ปี ชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ ในช่วงเช้า สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดพิธีทำบุญอุทิศส่วนกุศล และพิธีวางพานพุ่ม อนุสาวรีย์ปรีดี พนมยงค์ เพื่อรำลึกคุณูปการต่างๆ ของ ‘ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์’ ในฐานะผู้ริเริ่มวางรากฐานระบอบประชาธิปไตยในสังคมไทย โดยในเวลา 08.00 น. ได้เริ่มพิธีทำบุญแด่นายปรีดี พนมยงค์
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
12
พฤษภาคม
2566
รำลึก 16 ปี อนิจกรรม (12 พฤษภาคม 2550 - 2566) ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ สตรีผู้ไม่ท้อต่อผองภัย
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
8
พฤษภาคม
2566
ฉากชีวิตนับจากการเนรเทศถึงนิวัติไทยทั้งผลงานสำคัญ และการลี้ภัยครั้งแรกตราบจนวาระสุดท้ายแห่งชีวิตของนายปรีดี พนมยงค์ จนถึงการนิวัติไทยในวันที่ 7 พฤษภาคม พ.ศ. 2529
บทความ • บทบาท-ผลงาน
7
พฤษภาคม
2566
ประมวลทรรศนะต่อเส้นทางชีวิตและคุณูปการของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านสายตาของ 'พระราชนันทมุนี' หรือ 'ท่านปัญญานันทภิกขุ' ซึ่งได้แสดงปาฐกถาธรรมไว้ ณ เรือนไทยหอประชุมภายในเขตอนุสรณ์สถานปรีดี พนมยงค์ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เมื่อช่วงบ่ายของวันแรกที่อัฐิธาตุของรัฐบุรุษอาวุโสกลับสู่มาตุภูมิ ในวันที่ 7 พฤษภาคม 2529
บทความ • บทสัมภาษณ์
2
พฤษภาคม
2566
ยงจิตต์ สุนทร-วิจารณ์, ผุดผาดน้อย วรวุฒิ, ประสิทธิ์ ผ่องเภสัช และ จิ่งทง ลิขิตชลธาร ร่วมย้อนวันวานถึงนายปรีดี พนมยงค์ เนื่องในวาระ 40 ปีแห่งการอสัญกรรม
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
เมษายน
2566
บอกเล่าบรรยากาศและสาระจากงานฉลองครบรอบ 90 ปีที่เวียนมาบรรจบของ 'ส. ศิวรักษ์' ปัญญาชนสยาม อันเป็นชีวิตที่มีโลกทัศน์ดำเนินไปพร้อมกับพลวัตทางสังคม ก่อร่างสร้างตัวตนให้บุรุษผู้นี้มีจุดยืนความคิดเป็นของตนเองมาตลอด 9 ทศวรรษที่ไหลเวียนอยู่ในสายธารของประวัติศาสตร์การเมืองไทย
บทความ • บทบาท-ผลงาน
15
เมษายน
2566
ย้อนสัมผัสบรรยากาศเมื่อครั้งวันออกเดินทางไปยังประเทศฝรั่งเศสของนายปรีดีซึ่งปรากฏการเข้าร่วมของราษฎรทุกสาขาอาชีพ หนึ่งในนั้นได้แก่เหล่าศาสนิกชนผู้นับถือศาสนาอิสลาม คือ "กลุ่มลูกเสือแขก" แห่งโรงเรียนอัสสละฟียะฮ์วิทยาลัยก็เข้าร่วมเหตุการณ์สำคัญในวันนั้นด้วย
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
Subscribe to พูนศุข พนมยงค์
12
เมษายน
2566
เรื่องราวการถูกเนรเทศไปยังแดนไกลของนายปรีดีและความเป็นไปทางการเมืองในขณะนั้น โดยกล่าวถึงสาเหตุที่ทำให้ชีวิตของมันสมองคณะราษฎรผู้นี้ต้องระหกระเหิน พร้อมทั้งบรรยากาศในสังคมสยามเมื่อคราวที่นายปรีดีจะต้องออกเดินทางนั้นมาถึง