พูนศุข พนมยงค์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
20
ธันวาคม
2567
ความสัมพันธ์ระหว่างรัชกาลที่ 7 สมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี กับปรีดี-พูนศุข พนมยงค์ ที่สอดรับกับบริบททางประวัติศาสตร์ในช่วงหลังการอภิวัฒน์จนถึงทศวรรษ 2530
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
12
ธันวาคม
2567
พระปัญญานันทภิกขุกล่าวถึงความดี ความงาม และความจริงของนายปาล พนมยงค์ ทั้งอุปนิสัย ชีวิต ผลงาน และครอบครัวของนายปาลคือ นายปรีดี และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
บทความ • วันนี้ในอดีต
19
พฤศจิกายน
2567
108 ปี ชาตกาล ครูฉลบชลัยย์ พลางกูร ภริยาของนายจำกัด พลางกูร เสรีไทยคนสำคัญที่บอกเล่าเรื่องราวจากบันทึกความทรงจำ และความประทับใจที่มีต่อนายปรีดี และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
บทความ • วันนี้ในอดีต
30
ตุลาคม
2567
110 ปี ชาตกาลของจำกัด พลางกูร เป็นปากคำประวัติศาสตร์ของฉลบชลัยย์ พลางกูร ภรรยาของจำกัด ที่บอกเล่าเรื่องราวชีวิต และการทำงานเสรีไทยของจำกัดอย่างละเอียด
บทความ • วันนี้ในอดีต
29
ตุลาคม
2567
ในวาระ 14 ปี มรณกรรม ศุขปรีดา พนมยงค์ ได้เขียนถึง 21 ปี ที่นายปรีดี พนมยงค์ ได้พํานักอยู่ในประเทศจีน ตั้งแต่ พ.ศ. 2492-2513 ซึ่งนายปรีดี และครอบครัวมีความรู้สึกซาบซึ้งในไมตรีจิตมิตรภาพของราษฎรจีน และผู้นําจีน
บทความ • บทสัมภาษณ์
28
กันยายน
2567
บทสัมภาษณ์ครอบครัวของคุณสุพจน์ ด่านตระกูล เนื่องในวาระ 101 ปี ชาตกาล คุณสุพจน์ ด่านตระกูล เล่าถึงชีวิตและงานรวมทั้งความสัมพันธ์กับนายปรีดี ท่านผู้หญิงพูนศุข นายปาล และนายศุขปรีดา พนมยงค์
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
20
กันยายน
2567
นายปรีดี พนมยงค์ เขียนจดหมายเรื่องที่ 2 ถึงลูกคือ ปาล สุดา และศุขปรีดา พนมยงค์ ให้ความรู้เรื่องการเลือกตั้งของเทศบาลในเมืองและชนบทเพื่อเชื่อมโยงกับเศรษฐศาสตร์การเมืองเปรียบเทียบระหว่างเศรษฐกิจแบบศักดินาและชาวนา
บทความ • บทบาท-ผลงาน
2
กันยายน
2567
ความสัมพันธ์ระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ และโฮจิมินห์ ในการสนับสนุนการกอบกู้เอกราชของประเทศเวียดนาม จนนำไปสู่การประกาศเอกราชของประเทศเวียดนาม ณ จตุรัสบาดิ่น กลางกรุงฮานอย ในวันที่ 2 กันยายน พ.ศ. 2488
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
21
สิงหาคม
2567
มารุต บุนนาค ในขณะเป็นนักหนังสือพิมพ์ได้ใช้นามปากกาว่า ผู้สื่อข่าวน้อย เขียนถึงการต่อสู้ของขบวนการนักศึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เมื่อ พ.ศ. 2494
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to พูนศุข พนมยงค์
9
สิงหาคม
2567
วิเชียร วัฒนคุณ อดีตประธานกรรมการบริหารสถาบันปรีดี พนมยงค์ ผู้เสนอชื่อปรีดี พนมยงค์ให้ได้รางวัลยูเนสโก เป็นเสมือนผู้ปิดทองหลังพระ และมีความศรัทธาต่ออุดมคติทางสังคมการเมืองของปรีดีโดยได้ให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับเรื่องดังกล่าวไว้ในบทความชิ้นนี้