ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ภีรดา

แนวคิด-ปรัชญา
18
เมษายน
2566
สำรวจฐานคิดอันเป็นต้นกำเนิดของการเกณฑ์ทหาร ซึ่งถือเป็นกิจกรรมพื้นฐานของการสร้างรัฐชาติสมัยใหม่ พร้อมด้วยข้อเสนอถึงความเป็นไปได้ที่ปรับเปลี่ยนไปสู่โมเดลคัดสรรด้วยความสมัครใจ และเงื่อนไขต่อการสร้างระบบอย่างมีประสิทธิภาพที่เหมาะสมต่อโครงสร้างทางเศรษฐกิจและการเมืองของประเทศ
แนวคิด-ปรัชญา
28
กุมภาพันธ์
2566
ภีรดา เขียนถึง การสร้างระบอบประชาธิปไตยให้ลงหลักปักฐานอย่างตั้งมั่น ผ่านแนวคิดสิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญอันเป็นหลักการคุณค่าสูงสุดของระบอบประชาธิปไตยบนหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย ท่ามกลางอุปสรรคการในการปกป้องระบอบประชาธิปไตยที่ต้องเผชิญกับการรัฐประหารด้วยอำนาจนอกระบบจากกลุ่มศักดินา
แนวคิด-ปรัชญา
20
กุมภาพันธ์
2566
ในบทความนี้ ชวนผู้อ่านร่วมค้นหาคำตอบของคำถามที่ว่า "ทำไมแนวทางสันติวิธีจึงเป็นสิ่งสำคัญในสนามการเมือง" โดยพิจารณาจากบทเรียนทางการเมืองและแนวทาง "สันติวิธี" (Nonviolent Action) ในฐานะเครื่องมือเพื่อโค่นล้มนักเผด็จการทั้งหลายที่กดขี่ข่มเหงประชาชน
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
กุมภาพันธ์
2566
ภีรดา เขียนถึงการต่อสู้ทางการเมืองด้วย "การอดอาหาร" (Hunger Strike) ซึ่งมีจุดมุ่งหมายทางอุดมการณ์เพื่อตอบสนองแก่ข้อเรียกร้องจนนำไปสู่การหาทางออกของสังคม ผ่านกรณีความเคลื่อนไหวทางการเมืองในต่างประเทศ และ ไทยโดย 'ฉลาด วรฉัตร' อดีตนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ที่สามารถสร้างแรงกระเพื่อมให้แก่สังคมบนหน้าประวัติศาสตร์เหตุการณ์พฤษภาประชาธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
24
มกราคม
2566
ภีรดา ชวนพิจารณาถึงฐานะทางประวัติศาสตร์ของการเลือกตั้งไทยในช่วงเปลี่ยนผ่านทางการเมือง โดยวิพากษ์และเปรียบเทียบพัฒนาการทางการเมืองในช่วงเวลาที่ไล่เลี่ยกันต่อพื้นที่อื่นๆ ในฟากฝั่งตะวันตก ซึ่งเป็นการท้าทายต่อองค์ความรู้เดิมของพัฒนาการสิทธิสตรีต่อการเลือกตั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
4
มกราคม
2566
โครงสร้างของระบอบชายเป็นใหญ่ (Patriarchy) ซึ่งเป็นฐานคิดหนึ่งที่ถูกปะทะจากการเข้าสู่ระบอบใหม่ จนเกิดบรรทัดฐานใหม่ทางเพศในสังคมและการเคลื่อนไหวของสตรีภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ตลอดจนนำไปสู่การรื้อสร้างและต่อสู้ทางวัฒนธรรมที่ยังคงดำเนินต่อไป
แนวคิด-ปรัชญา
30
ธันวาคม
2565
คำอธิบายโดยทั่วไปถึงความแตกต่างของรัฐธรรมนูญ 2 ฉบับ ระหว่างฉบับที่หนึ่ง (24 มิถุนายน 2475) หรือพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม (ชั่วคราว) พ.ศ. 2475 และฉบับที่สอง (10 ธันวาคม 2475) หรือ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรสยาม พ.ศ. 2475 มักจะชี้ให้เห็นถึงการประนีประนอมระหว่างฝ่ายคณะราษฎรและฝ่ายตัวแทนของระบอบเก่า จนกระทั่งได้ข้อสรุปในเรื่องสำคัญคือ การยอมรับอำนาจอธิปไตยเป็นของปวงชนชาวไทย แต่กำหนดให้พระมหากษัตริย์เป็นประมุขของรัฐ และทรงใช้อำนาจอธิปไตยนั้นผ่านฝ่ายนิติบัญญัติ บริหาร และตุลาการ
แนวคิด-ปรัชญา
9
ธันวาคม
2565
จุดเริ่มต้นระบอบรัฐธรรมนูญของประเทศ ภายหลังเมื่อเข้าสู่การปกครองในระบอบประชาธิปไตย ซึ่งนำไปสู่การสถาปนารัฐธรรมนูญฉบับที่ 2 อย่างเป็นทางการ ในวันที่ 10 ธันวาคม 2475 อันเป็นที่มาแห่งการรำลึกในนาม "วันรัฐธรรมนูญ" ของทุกๆ ปี รวมไปถึงขั้นตอน กระบวนการ และสาระสำคัญในการจัดทำรัฐธรรมนูญ ซึ่งท้ายที่สุดได้บรรลุผลเป็นหลักการกฎหมายสูงสุดในการปกครองประเทศดังรัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าว อีกทั้งความสำคัญของการมีส่วนทางการเมืองของประชาชนในระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤศจิกายน
2565
นอกจากรัฐประหาร 2490 จะเป็นจุดเริ่มต้นบทบาททางการเมืองของกองทัพแล้วนั้น เหตุดังกล่าวยังได้รื้อฟื้นองคาพยพในระบอบเก่าให้หวนคืนสู่เวทีการเมืองอีกครั้ง ซึ่งแม้จะเคยถูกยกเลิกไปครั้นเมื่อเข้าสู่ระบอบใหม่ในสมัยคณะราษฎร แต่ทว่าภายหลังการรัฐประหารในครั้งนี้องค์กรดังกล่าวได้ถูกนำกลับมาผ่านรัฐธรรมนูญฉบับชั่วคราว 2490 หรือ "รัฐธรรมนูญใต้ตุ่มแดง" และอย่างเป็นทางการในรัฐธรรมนูญ ฉบับ 2492
แนวคิด-ปรัชญา
9
พฤศจิกายน
2565
ลักษณะเฉพาะของรัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 นั้น เมื่อประกอบรวมกันจึงฉายภาพให้เห็นถึงตำแหน่งแห่งที่ของเหตุการณ์ดังกล่าวในสายธารประวัติศาสตร์ไทย ที่ได้ส่งผ่านมายังฐานคิดของคนในยุคหลังจากเหตุการณ์นั้น อันมีผลต่อความเคลื่อนไหวทางการเมืองไทยสืบมาจนกระทั่งปัจจุบัน
Subscribe to ภีรดา