ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ภีรดา

แนวคิด-ปรัชญา
26
ตุลาคม
2565
สำรวจการต่อสู้ทางชนชั้นของผู้ถูกกดขี่ภายใต้แรงกดดันจากชนชั้นปกครอง ซึ่งแม้การกดปราบผู้เห็นต่างจะเป็นไปอย่างเข้มข้นจนเป็นอุปสรรคต่อการเคลื่อนไหวของภาคประชาชน ทว่า การขัดขืนของผู้กดขี่มิได้ยุติลงเพียงเท่านั้น แต่ได้ปรับกระบวนทัศน์กลายเป็น "เรื่องเล่าหลังม่าน" ที่เปิดเปลือยความโหดร้ายของชนชั้นผู้ปกครองอย่างแยบยล
แนวคิด-ปรัชญา
17
ตุลาคม
2565
ไม่มีประเทศใดบนโลกใบนี้ จะอนุญาตให้มีการปล่อยให้อาชญากรรมโดยรัฐ ลอยนวลพ้นผิดได้อย่างเปิดเผย โฉ่งฉ่าง เฉกเช่นที่เกิดขึ้นกับประเทศไทย เราคงไม่ต้องกล่าวซ้ำว่า เกิดอาชญากรรมโดยรัฐมากน้อยเพียงใด
แนวคิด-ปรัชญา
10
ตุลาคม
2565
เดือนตุลาคมของไทยทุกปี มักถูกจดจำทั้งในฐานะเดือนแห่งชัยชนะของประชาธิปไตย โดยมีเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 อันเป็นการขับไล่ระบอบเผด็จการทหารเป็นจุดอ้างอิง ขณะเดียวกันก็มักเป็นเดือนแห่งความทรงจำว่าด้วยการก่ออาชญากรรมโดยรัฐ โดยมีเหตุการณ์สังหารหมู่นักศึกษาและประชาชน ในวันที่ 6 ตุลาคม 2519 เป็นสิ่งที่ให้หวนระลึกถึง 
แนวคิด-ปรัชญา
29
กันยายน
2565
การประเมินระดับประชาธิปไตยโดย Democracy Index ได้อาศัยตัวชี้วัดหลายเรื่อง โดยมีจุดร่วมสำคัญอยู่ใน 5 ประเด็น ได้แก่ กระบวนการเลือกตั้ง บทบาทของรัฐบาล การมีส่วนร่วมทางการเมือง วัฒนธรรมทางการเมือง และเสรีภาพของพลเมือง ผลที่ตามมา คือ ในกลุ่มประเทศที่ได้รับการเมินให้เป็น ประชาธิปไตยสูง นั้น ส่วนใหญ่ใช้แนวทางเศรษฐกิจและการเมืองแบบสังคมนิยมประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
23
กันยายน
2565
ชวนสำรวจตำแหน่งแห่งที่ของประชาธิปไตยไทย ภายใต้บริบทการเมืองโลกที่มีการขับเคี่ยวทางอุดมการณ์ตลอดเวลา ผ่านการประเมินตัวแปรชี้วัดที่หลากหลายซึ่งฉายภาพความเป็นประชาธิปไตยของรัฐไทย รวมถึงจุดยืนที่สะท้อนผ่านการแบ่งชนิดของรัฐในสถานการณ์ที่ประชาธิปไตยไทยถดถอย
บทบาท-ผลงาน
13
กันยายน
2565
ความพยายามในการสร้างรัฐประชาธิปไตยด้วยการสถาปนารัฐสมัยใหม่ของนายปรีดี พนมยงค์ ภายใต้บทบาทและเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์การเมืองครั้งสำคัญนับตั้งแต่การอภิวัฒน์สยาม 2475 และการสานต่อเจตนารมณ์แห่งการอภิวัฒน์ภายหลังจากนายปรีดีขึ้นดำรงตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 2489
แนวคิด-ปรัชญา
9
สิงหาคม
2565
ฐานคิดว่าด้วยสันติภาพผ่านนโยบายการต่างประเทศที่เกิดขึ้นหลังการอภิวัฒน์สยาม ภายใต้การดำเนินงานในรัฐบาลของพระยาพหลฯ ซึ่งมีนายปรีดี เป็น รมต.กระทรวงการต่างประเทศในขณะนั้น ซึ่งตั้งอยู่ในบนหลักของการรักษาดุลแห่งอำนาจซึ่งถือเป็นรากฐานสำคัญที่ส่งผลต่อการกำหนดนโยบายต่างประเทศก่อนที่สงครามโลกครั้งที่ 2 จะเปิดฉากในช่วง 2 ทศวรรษต่อมา
ศิลปะ-วัฒนธรรม
29
กรกฎาคม
2565
"สายธารแห่งวรรณกรรมศรีบูรพา" ผ่านบทบาทของ 'วัฒน์ วรรลยางกูร' หนึ่งในผู้รอดชีวิตจากการสังหารหมู่เมื่อ 6 ตุลาคม 2519 ผู้ซึ่งยังคงถ่ายทอดอุดมการณ์ผ่านงานเขียนจนวาระสุดท้ายของชีวิต โดยวิเคราะห์ภายใต้บริบทของเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ คือ เหตุการณ์ ‘เมษา-พฤษภา 53’
ศิลปะ-วัฒนธรรม
18
กรกฎาคม
2565
จากต้นปี 2565 จนถึงกลางปี แวดวงวรรณกรรมและศิลปวัฒนธรรม ต้องสูญเสียคนทำงานสร้างสรรค์ที่มีจุดยืนประชาธิปไตยคนสำคัญติดๆ กัน อย่างน้อยถึงสี่ราย
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2565
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา เมื่อมีบุคคลปริศนาเข้าเปลี่ยนป้าย “สะพานพิบูลสงคราม” บริเวณใกล้ๆ แยกเกียกกาย เป็นชื่อสะพาน “ดิ่น ท่าราบ”
Subscribe to ภีรดา