ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ภีรดา

แนวคิด-ปรัชญา
16
ตุลาคม
2566
งานวิจัยดุษฎีนิพนธ์ สาขาวิชารัฐศาสตร์ เรื่อง “เสรีนิยมธรรมราชา: พลวัตแห่งอำนาจระหว่างสถาบันกษัตริย์กับสถาบันแนวประชาธิปไตยในโครงการจำกัดเสียงข้างมาก (พ.ศ. 2540-2560)” โดย อ.ปฤณ เทพนรินทร์ กล่าวถึงลักษณะสำคัญใหม่ของฟากฝั่งอนุรักษนิยมไทยที่ปรับเปลี่ยนตนเองอย่างมีพลวัต
แนวคิด-ปรัชญา
20
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้ ผู้เขียนนอกจากจะวิเคราะห์กลุ่มพรรคการเมืองทั้งสองกลุ่มว่า นำเสนอนโยบายต่างประเทศที่มีจุดเน้นแตกต่างกันแล้ว ยังย้อนรำลึกถึงนโยบายของรัฐบาลบางชุดในอดีต
แนวคิด-ปรัชญา
7
กันยายน
2566
ข้อสังเกต 3 ประการถึงเหตุผลว่าเป็นเช่นไรที่การมองด้วยทฤษฎีภาวะทันสมัยหรือ “สองนคราธิปไตย” อาจต้องกลับมาศึกษาใหม่อีกครั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
2
สิงหาคม
2566
นับตั้งแต่รัฐประหารเมื่อ 2557 หรือเกือบทศวรรษที่ผ่านมานี้ชี้ให้เห็นว่ายิ่งผู้มีอำนาจหรือรัฐบาลพยายามกดปราบข้อเรียกร้องของประชาชนมากเท่าใด แนวโน้มข้อเรียกร้องเหล่านั้นก็จะมีความแหลมคมมากขึ้นเท่านั้น
แนวคิด-ปรัชญา
25
กรกฎาคม
2566
ประเทศไทยยังคงวนเวียนกับวงจรและกับดักของเผด็จการจากรัฐประหาร แต่การเลือกตั้งก็ยังคงเป็นกิจกรรมสำคัญของประชาชนที่ขาดไม่ได้ตลอดมา ในฐานะเจ้าของสิทธิอันชอบธรรมทางการเมืองในระบอบประชาธิปไตย สิ่งสำคัญหนึ่งในการปกป้องระบบรัฐสภาในระบอบประชาธิปไตยเอาไว้ให้ได้ ก็คือ การรักษาความชอบธรรมทางการเมือง
แนวคิด-ปรัชญา
21
มิถุนายน
2566
ความคิด ความอ่าน และความเคลื่อนไหวของคนในระบอบเก่าก่อนระบอบประชาธิปไตยจะบรรลุผลสำเร็จ ความทุกข์ร้อนใจของประชาชนที่มีต่อปัญหาในทุกๆ มิติ ทั้งด้านการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ตัวบทดังกล่าวชี้ให้เห็นพลวัตของการเปลี่ยนแปลงทางโครงสร้าง รวมไปถึงความคาดหวังของประชาชนในฐานะคนตัวเล็กๆ ในสังคมสยาม ณ ขณะนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
7
มิถุนายน
2566
องค์กรตุลาการอย่าง "ศาลรัฐธรรมนูญ" ถูกหยิบยกเข้ามาร่วมในสมการทางการเมือง เนื่องจากตลอดระยะเวลานับตั้งแต่การรัฐประหารและความชะงักงันในปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา เป็นเวลากว่า 17 ปี ที่สังคมไทยต้องเผชิญกับนิติสงคราม
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤษภาคม
2566
ผลการเลือกเมื่อ 14 พ.ค. 2566 แสดงถึงเจตจำนงและฉันทามติของสังคมไทยอย่างเด่นชัดที่ต้องการเปลี่ยนผ่านไปสู่ระบอบประชาธิปไตยอย่างแท้จริง ทว่า กลับต้องพบกับอุปสรรคทางการเมืองที่ถูกวางไว้ผ่านรัฐธรรมนูญ 2560 ในบทเฉพาะกาล โดยกำหนดให้ สว. จำนวน 250 คน มีสิทธิร่วมเลือกนายกรัฐมนตรีผ่านกลไกการประชุมรัฐสภา
แนวคิด-ปรัชญา
10
พฤษภาคม
2566
ย้อนอ่านประวัติศาสตร์การเลือกตั้งเมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2500 ซึ่งถือเป็นครั้งที่ถูกจารึกไว้ว่าเป็นการเลือกตั้งที่สกปรกมากที่สุดของไทย อันเป็นการเลือกตั้งที่พบปัญหาการทุจริต เพื่อถอดบทเรียนการเมืองและหนทางการต่อสู้สำหรับเปลี่ยนแปลงประเทศไปสู่ระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
24
เมษายน
2566
เงื่อนไขที่เป็นไปได้ของการปฏิรูปกองทัพในส่วนของการเกณฑ์ทหาร คือ การระดมกำลังพลด้วยระบบอาสาสมัคร ผ่านการถอดบทเรียนจากประวัติศาสตร์การเมืองโลก ซึ่งนำไปสู่การปรับเปลี่ยนรูปแบบการเกณฑ์ทหารที่สอดคล้องต่อยุคสมัย
Subscribe to ภีรดา