ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

เกร็ดประวัติศาสตร์
27
มิถุนายน
2567
บทความนี้เสนอเรื่องนายปรีดี พนมยงค์ จะเดินทางกลับจากปารีสมายังเมืองไทย เมื่อ พ.ศ. 2518 ผ่านหนังสือพิมพ์หลัก 2 ฉบับคือ เดลินิวส์ และไทยรัฐ และมีคำปราศรัยของนายปรีดีถึงชาวธรรมศาสตร์ในวาระครบรอบ 41 ปีวันสถาปนามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2518
แนวคิด-ปรัชญา
27
มิถุนายน
2567
การก่อตั้งมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมืองเมื่อปี 2477 โดยนายปรีดี พนมยงค์ และคณะราษฎณ เป็นสถาบันอุดมศึกษา อันสร้างคน นักประชาธิปไตย นักปกครอง นักการเมือง อันเป็นกำลังของชาติให้แก่ประเทศไทย
แนวคิด-ปรัชญา
24
พฤษภาคม
2567
ช่วงท้ายงานเสวนาทางวิชาการ PRIDI Talks #25 เก่าไปใหม่มา : สว. ชุดใหม่ อนาคตประชาธิปไตย อนาคตประเทศไทย เปิดให้ผู้เข้าร่วมรับชมงานเสวนาถามคำถามและวิทยากรภายในงานตอบคำถาม ข้อสงสัยประเด็นต่างๆ
แนวคิด-ปรัชญา
23
พฤษภาคม
2567
ผู้ร่วมเสวนาในเวที PRIDI Talks #25 กล่าวถึงความคาดหวังให้สมาชิกวุฒิสภาชุดใหม่มีความเชื่อมโยงกับประชาชนมากขึ้น ใช้อำนาจอย่างรับผิดชอบ และผลักดันการปฏิรูปการเมืองอย่างจริงจัง โดยเฉพาะการจัดตั้งสภาร่างรัฐธรรมนูญเพื่อยกร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่
14
พฤษภาคม
2567
‘สถาบันปรีดี พนมยงค์’ ได้ร่วมกับ ‘มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์’ จัดงานเสวนาทางวิชาการ PRIDI Talks #25 เก่าไปใหม่มา : สว. ชุดใหม่ อนาคตประชาธิปไตย อนาคตประเทศไทย ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ วันเสาร์ที่ 11 พฤษภาคม 2567
14
พฤษภาคม
2567
เมื่อวันที่ 11 พฤษภาคม 2567 ที่ผ่านมา เป็นวาระ 124 ปี ชาตกาล ศาสตราจารย์ ดร. ปรีดี พนมยงค์ ในช่วงเช้าสถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จัดพิธีทำบุญอุทิศส่วนกุศล และพิธีวางพานพุ่ม ณ อนุสาวรีย์ปรีดี พนมยงค์ บริเวณลานปรีดี พนมยงค์ เพื่อรำลึกถึงคุณูปการของ ‘ศาสตราจารย์ ดร.ปรีดี พนมยงค์’ ในฐานะผู้ริเริ่มวางรากฐานระบอบประชาธิปไตยในสังคมไทย
บทสัมภาษณ์
23
มีนาคม
2567
PRIDI Interview อาจารย์สรรเสริญ ไกรจิตติ นักเรียนโรงเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง (ต.ม.ธ.ก.) รุ่นที่ 4 ได้เล่าถึงประสบการณ์และความทรงจำช่วงวัยเรียนในสมัยนั้น นอกจากนั้นวัยเรียนยังได้ร่วมแสดงละครภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" ที่อาจารย์ปรีดีเป็นผู้กำกับ
แนวคิด-ปรัชญา
7
มีนาคม
2567
การปกครองในระบอบประชาธิปไตยนั้น ไม่ว่าจะเป็นเสียงส่วนมาก หรือเสียงส่วนน้อยก็ตาม จะต้องมีการเคารพในผลการตัดสินซึ่งกันและกัน ไม่ใช่เพียงฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจะยึดแต่ส่วนตนเท่านั้น จึงจะทำให้การเมืองนั้นเกิดความมีเสถียรภาพ
บทสัมภาษณ์
29
มกราคม
2567
PRIDI Interview : รำลึกการแปรอักษรงานบอลประเพณีฯ ครั้งประวัติศาสตร์ โดยวันชัย ตันติวิทยาพิทักษ์ ครบรอบ 41 ปี งานฟุตบอลประเพณีจุฬาฯ - ธรรมศาสตร์ ครั้งที่ 39 กับเหตุการณ์การแปรอักษรครั้งประวัติศาสตร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มกราคม
2567
เนื่องในวาระครบรอบ 119 ปี ชาตกาล 'ศาสตราจารย์ดิเรก ชัยนาม' จึงจะขอนำเสนอผลงานและแนวคิดสำคัญในแต่ละช่วงชีวิตดังต่อไปนี้ และไม่ค่อยมีการกล่าวถึงมาก่อน อาทิ ข้อเสนอระงับกรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศสในรายงานการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 6 วันที่ 14 ตุลาคม พุทธศักราช 2489 บทบาทในการก่อตั้งคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และดำรงตำแหน่งคณบดีคนแรก พ.ศ. 2492 และปาฐกถาพุทธศาสนากับการปกครอง พ.ศ. 2499
Subscribe to มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์