ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

แนวคิด-ปรัชญา
17
ธันวาคม
2565
ความสำคัญของรัฐธรรมนูญโดยเชื่อมโยงกับสังคมไทยและการต่อสู้ทางการเมืองในโมงยามปัจจุบัน พร้อมทั้งวิพากษ์คำว่า "Constitution" "Constitutional" และ "Constitutionalism" ผ่านแว่นตาของรัฐศาสตร์ คำดังกล่าวต่างเต็มไปด้วยนัยทางการเมืองที่แตกต่างกันและส่งผลต่อฐานคิดว่าด้วย "รัฐธรรมนูญ"
แนวคิด-ปรัชญา
16
ธันวาคม
2565
กล้า สมุทวณิช กล่าวถึง "ความสำคัญของรัฐธรรมนูญ" "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญ" และ "อำนาจสถาปนารัฐธรรมนูญดั้งเดิม" ตลอดจนเส้นทางของรัฐธรรมนูญนับตั้งแต่อดีตจนถึงฉบับปัจจุบันในสายธารประวัติศาสตร์การเมืองไทย พร้อมกันนี้ได้เน้นย้ำช่องโหว่ทางกฎหมายเพื่อลดอุปสรรคสำหรับรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนที่กำลังจะมาถึง อีกทั้งยังถอดบทเรียนจากวรรณกรรมเรื่อง "เกิดใหม่ครั้งนี้จะสร้างประเทศที่ดีได้หรือเปล่านะ" เพื่อให้ได้ซึ่งรัฐประชาธิปไตยอย่างแท้จริง
แนวคิด-ปรัชญา
15
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ กล่าวถึงความสำคัญของการปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญ อันมีหัวใจสำคัญคือการยึดโยงต่อประชาชน เพื่อการสถาปนารัฐและระบอบการเมืองที่มั่นคง พร้อมกันนี้ยังได้นำเสนอทางออกของวิกฤติที่ไทยกำลังเผชิญหน้ารวมทั้งสิ้น 6 ประการ เพื่อยุติความขัดแย้งและหาจุดร่วมให้แก่ความคิดเห็นที่แตกต่างกันของคนในสังคม
13
ธันวาคม
2565
เสาร์ที่ 10 ธันวาคม 2565 ที่ผ่านมา สถาบันปรีดีพนมยงค์ ร่วมกับ สถาบันสัญญาธรรมศักดิ์เพื่อประชาธิปไตย จัดงานเสวนา PRIDI Talks #18 × SDID : “หนทางสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชน” ขึ้น ณ หอประชุมศรีบูรพา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
บทบาท-ผลงาน
6
พฤศจิกายน
2565
แท้จริงแล้ว ความคิดที่จะสร้างหอประชุมมหาวิทยาลัยมิได้เพิ่งจะมาเริ่มในสมัย จอมพล ป. ดำรงตำแหน่งอธิการบดี แต่หากเคยมีความคิดที่จะจัดสร้างมาตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 สิ้นสุดลงในยุคที่ นายปรีดี พนมยงค์ ดำรงตำแหน่งผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย
ศิลปะ-วัฒนธรรม
28
ตุลาคม
2565
ฯลฯ ถ้าขาดโดม.....เจ้าพระยา.....ท่าพระจันทร์.....ก็ขาดสัญญลักษณ์[1]พิทักษ์ธรรม (บทกลอนของ เปลื้อง วรรณศรี สนับสนุนนักศึกษา มธก. คัดค้านอำนาจเผด็จการ หลัง 8 พ.ย. 2490) “โดม” คือท่านปรีดี พนมยงค์ สูงส่ง, ฉลาด, ชาญ, หาญกล้า ท่านอุทิศทุกอย่างตลอดมา เพื่อชาติเพื่อประชาชาวไทย. ลูก (คุณปาล) เมีย (ท่านผู้หญิงพูนศุข) ติดคุกติดตะราง ท่านต้องนิราศร้างภัยใหญ่ สามสิบกว่าปีที่จากไป ดวงใจท่านมิได้เปลี่ยนแปลง
ศิลปะ-วัฒนธรรม
13
ตุลาคม
2565
การต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยต้องทำอย่างไรเพื่อส่งต่ออุดมการณ์ให้คนรุ่นใหม่ปฏิบัติการได้สำเร็จ คือ โจทย์ที่เป็นหัวใจสำคัญของการเคลื่อนไหวในแต่ละก้าวของคนรุ่นต่อรุ่นและ ศิลปะ ยังคงทำหน้าที่เป็นส่วนประสานผ่านหลายแขนงอย่างเข้มแข็งตลอดมา
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
ตุลาคม
2565
การพัฒนาความรู้กฎหมายมหาชนในประเทศไทย (พ.ศ. 2515 - 2550) ดร.อิสสระมุ่งมั่นที่จะให้ความรู้แก่นิสิต นักศึกษา เพื่อพัฒนากฎหมายมหาชนในประเทศไทย แม้ว่าภารกิจราชการที่สำนักงบประมาณจะหนัก แต่ ดร.อิสสระก็ได้สละเวลาพักผ่อนส่วนตัวไปเป็นอาจารย์พิเศษและอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ที่มหาวิทยาลัยหลายแห่ง ตั้งแต่ปี 2515 จนกระทั่งในปี 2550 ที่ร่างกายไม่เอื้ออำนวยให้ทำงานได้ ทั้งนี้ ในปี 2515 กฎหมายมหาชนยังเป็นเรื่องใหม่มาก และการเรียนการสอนสาขากฎหมายมหาชนยังมีจำกัดในประเทศไทย  
18
สิงหาคม
2565
วันที่ 16 สิงหาคม 2565 ที่ผ่านมา ในวาระ 77 ปี วันสันติภาพไทย ในช่วงเช้า สถาบันปรีดี พนมยงค์ ได้ร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จัดพิธีวางช่อดอกไม้บริเวณลานปรีดี พนมยงค์ หน้าตึกโดม เพื่อเป็นรำลึกถึงคุณูปการของผู้เสียสละในขบวนการเสรีไทย ภายใต้การนำของ ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ในฐานะของหัวหน้าขบวนการฯ และผู้เสียชีวิตจากสงครามโลกครั้งที่ 2   
แนวคิด-ปรัชญา
22
กรกฎาคม
2565
มูลเหตุที่เลือกเรียนกฎหมาย คุณแร่มได้เล่าให้ฟังว่า เดิมทีมิได้คิดจะเรียนกฎหมาย ตั้งใจจะเรียนแพทย์ เมื่อจบประโยคมัธยมบริบูรณ์ได้ไปสมัครสอบเข้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยไว้แล้วด้วย แต่เผอิญรอฟังผลการสมัครสอบเข้าอยู่นาน เนื่องจากมิได้สำเร็จการศึกษาจากโรงเรียนรัฐบาล (ขณะนั้นผู้ที่สำเร็จมัธยมศึกษาจากโรงเรียนรัฐบาลสามารถเข้าศึกษาต่อในจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยได้โดยไม่ต้องสอบเข้า) และเกรงว่าจะเข้าไม่ได้ด้วย จึงได้ไปสมัครเข้าโรงเรียนกฎหมายของกระทรวงยุติธรรม โดยได้รับการสนับสนุนจากบิดาเป็นผู้พาไปสมัครต่อเสนาบดีกระทรวงยุติธรรมในขณะนั้น คือเจ้าพระยาพิชัยญาติ ซึ่งหลังจากถูกซักถามและอบรมอยู่วันหนึ่งเต็
Subscribe to มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์