ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

บทสัมภาษณ์
2
พฤษภาคม
2566
ยงจิตต์ สุนทร-วิจารณ์, ผุดผาดน้อย วรวุฒิ, ประสิทธิ์ ผ่องเภสัช และ จิ่งทง ลิขิตชลธาร ร่วมย้อนวันวานถึงนายปรีดี พนมยงค์ เนื่องในวาระ 40 ปีแห่งการอสัญกรรม
แนวคิด-ปรัชญา
30
เมษายน
2566
สาระจากงาน "PRIMATES and ME: เรียนรู้วานร เข้าใจมนุษย์" ว่าด้วยเรื่องราวของวานรหรือลิงกับมนุษย์โดยมองผ่านแง่มุมต่างๆ มุ่งเน้นด้านไพรเมตวิทยา (Primatology) ผสมผสานเข้ากับวิทยาศาสตร์ธรรมชาติ มานุษยวิทยากายภาพ และมานุษยวิทยาวัฒนธรรม
ศิลปะ-วัฒนธรรม
23
เมษายน
2566
'แบม — กัญรภา อุทิศธรรม' กับ 'พริม — พริมรติ เภตรากาศ' พร้อมผู้ที่อยู่เบื้องหลังอย่าง 'ครูนาฏ — สินีนาฏ เกษประไพ' ทั้ง 3 ศิลปินร่วมแชร์ความคิดและพูดคุยถึงเส้นทางของ “Body Matters” A body dialogue about women ที่กว่าจะตกผลึกเป็นการแสดงอวดสู่สายตาผู้ชม สื่อความหมายว่าสิทธิเสรีภาพของมนุษย์นั้นไม่มีเพศเป็นตัวแบ่งแยก
บทสัมภาษณ์
23
มีนาคม
2566
ศ.พิเศษ หิรัญ รดีศรี ศิษย์ ต.ม.ธ.ก. รุ่นที่ 8 ร่วมพูดคุยถึงวันวานและย้อนความทรงจำในรั้ว ต.ม.ธ.ก. เนื่องในวาระ 86 ปี การก่อตั้ง ต.ม.ธ.ก. 23 มีนาคม 2480
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
มีนาคม
2566
เรื่องราวของขวัญวันเกิดในปีที่ 38 ซึ่งสะท้อนเจตนารมณ์การทำงาน ศ.ดร.ป๋วย ผ่านสายตาและการยอมรับจากผู้คนที่แวดล้อมรอบข้าง เมื่อครั้งปฏิบัติงานในกระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย ตลอดจนคุณูปการด้านวิชาการและการศึกษา
แนวคิด-ปรัชญา
7
มีนาคม
2566
คำอธิบายชุดความคิดและหัวใจทางการเมืองของ 'ศ.ดร.ป๋วย อึ๊งภากรณ์' ด้วยหลัก "สันติประชาธรรม" ซึ่งเน้นย้ำถึงความสำคัญของสันติวิธีเพื่อให้ถึงพร้อมด้วยประชาธรรมของผู้คน ผ่านการวิเคราะห์แตกย่อยอุดมคติทางการเมืองและความปรารถนาที่ ศ.ดร.ป๋วยต้องการให้บังเกิดขึ้นและไหลเวียนภายในสังคมไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
กุมภาพันธ์
2566
ภีรดา เขียนถึงการต่อสู้ทางการเมืองด้วย "การอดอาหาร" (Hunger Strike) ซึ่งมีจุดมุ่งหมายทางอุดมการณ์เพื่อตอบสนองแก่ข้อเรียกร้องจนนำไปสู่การหาทางออกของสังคม ผ่านกรณีความเคลื่อนไหวทางการเมืองในต่างประเทศ และ ไทยโดย 'ฉลาด วรฉัตร' อดีตนักเคลื่อนไหวทางการเมือง ที่สามารถสร้างแรงกระเพื่อมให้แก่สังคมบนหน้าประวัติศาสตร์เหตุการณ์พฤษภาประชาธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
23
ธันวาคม
2565
การนำเสนอรายงานการวิจัย เรื่อง ความคิดทางรัฐธรรมนูญและความมุ่งหมายทางการเมืองในการจัดทำร่างรัฐธรรมนูญ : ศึกษาผู้ร่วมออกแบบร่างรัฐธรรมนูญ ปี 2540, 2550, 2558 และ 2560 โดย ดร.ชาย ไชยชิต และ ดร.เอกลักษณ์ ไชยภูมี นักวิจัยประจำมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
แนวคิด-ปรัชญา
19
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.วรรณภา ติระสังขะ กล่าวถึงกล่าวถึงความสำคัญและกลไกของรัฐธรรมนูญในฐานะเครื่องมือสำคัญเพื่อรับใช้ประชาชน พร้อมทั้งชี้ถึงความจำเป็นของการเปิด "พื้นที่สาธารณะ" เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนทางความคิดของคนในสังคม ทั้งนี้ยังได้เสนอหนทางที่นำไปสู่รัฐธรรมนูญฉบับประชาชนในอนาคต
แนวคิด-ปรัชญา
18
ธันวาคม
2565
รศ.ดร.มุนินทร์ พงศาปาน กล่าวถึงความไม่เป็นกฎหมายสูงสุดของรัฐธรรมนูญ ซึ่งเกิดขึ้นนับตั้งแต่จุดเริ่มต้นของกระบวนการยุติธรรมไทยในอดีต เปรียบเสมือนติดกระดุมผิดเม็ด จนกรุยทางไปสู่ความป่วยไข้ของรัฐธรรมนูญที่ส่งผลต่อทัศนคติในหมู่นักกฎหมายและประชาชน
Subscribe to มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์