ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

บทบาท-ผลงาน
9
กรกฎาคม
2565
โอวาทของผู้ประศาสน์การมหาวิทยาลัย ประจำปี พ.ศ. 2482 ปรีดี พนมยงค์
แนวคิด-ปรัชญา
29
มิถุนายน
2565
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ ศึกษาประวัติศาสตร์เพื่อเข้าใจประวัติศาสตร์แห่งการอภิวัฒน์ PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
บทบาท-ผลงาน
28
มิถุนายน
2565
ณ ที่นี้จะกล่าวถึงการตั้ง “มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” สถาบันอุดมศึกษา อันสร้างคน นักประชาธิปไตย นักปกครอง นักการเมือง อันเป็นกำลังของชาติให้แก่ประเทศไทย 
บทบาท-ผลงาน
27
มิถุนายน
2565
ในประกาศคณะราษฎร ลงวันที่ 24 มิถุนายน พุทธศักราช 2475 มีหลัก 6 ประการ ที่คณะราษฎรวางไว้ให้เป็นหัวใจของการดำเนินนโยบายภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครองเพื่อบำรุงชีวิตของราษฎรให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งหลักข้อ 6. คือ “จะต้องให้การศึกษาอย่างเต็มที่แก่ราษฎร”
บทบาท-ผลงาน
10
มิถุนายน
2565
เมื่อมีอายุ 11 ปีในพุทธศักราช 2454 ข้าพเจ้าสังเกตเห็นความเปลี่ยนแปลงอย่างฉับพลันและน่าแปลกใจอย่างยิ่งในวัฒนธรรมของชาวจีนโพ้นทะเลและในหมู่ลูกหลานของพวกเขา ซึ่งมีอยู่ราวร้อยละ 25 ของราษฎรทั้งหมดในประเทศสยาม กล่าวคือ ผู้ชายแทบทุกคนได้ตัดผมหางเปียของเขาออก ทั้งๆ ที่เป็นทรงผมที่พวกเขาไว้กันมานานหลายศตวรรษแล้ว พวกเขาอธิบายสาเหตุของการเปลี่ยนแปลงครั้งใหญ่นี้ให้ราษฎรชาวสยามฟังว่า ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์แบบโบราณซึ่งบังคับให้พวกเขาไว้หางเปียอันน่าอับอายเช่นนี้ได้ถูกโค่นล้มแล้ว ด้วยการอภิวัฒน์ของฝ่ายสาธารณรัฐนำโดย ดร.ซุนยัดเซ็น ซึ่งในเวลานั้นได้เรียกร้องให้ชาวจีนทุกคนไว้ผมสั้นเช่นชาวยุโรป (ในสมัยนั้น)
บทบาท-ผลงาน
23
มีนาคม
2565
'ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์' เล่าถึงความเป็นมาระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ กับ “โรงเรียนเตรียมปริญญามหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง” หรือ ต.ม.ธ.ก. โดยความมุ่งหวังของท่านผู้ประศาสน์การเพื่อจะปรับปรุงและพัฒนาการศึกษาทุกระดับเพื่อให้สอดคล้องกับระบอบรัฐธรรมนูญ
เกร็ดประวัติศาสตร์
22
มีนาคม
2565
ศ.ดร.วิเชียร วัฒนคุณ' เล่าถึงเรื่องราวที่เกิดขึ้นเมื่อครั้งที่เดินทางไปที่ “ยูเนสโก” ณ กรุงปารีส ในการเป็นคณะผู้แทนไทยเพื่อดำเนินการจัดการแถลงชี้แจงต่อคณะกรรมการกลั่นกรองฯ เพื่อทบทวนมติและขอให้เพิ่มชื่อ 'นายปรีดี พนมยงค์' ในบัญชีรายการที่ได้รับการคัดเลือกเสนอชื่อให้เป็นบุคคลสำคัญของโลก .
แนวคิด-ปรัชญา
3
มีนาคม
2565
"ความเป็นกลาง" ที่นายปรีดีเน้นย้ำก็ได้ถูกถ่ายทอดออกมาเป็นภาพยนตร์ไทยที่มีชื่อว่า "พระเจ้าช้างเผือก" ซึ่งประกาศในตอนจบไว้ว่า “ชัยชนะแห่งสันติภาพมิได้มีชื่อเสียงบันลือนามน้อยไปกว่าชัยชนะแห่งสงคราม”
เกร็ดประวัติศาสตร์
26
กุมภาพันธ์
2565
ประเทศไทย ณ ห้วงเวลานั้น ถูกปกครองโดยระบอบเผด็จการ จนในท้ายที่สุด จึงเกิดการรวมกลุ่มของนายปรีดี พนมยงค์ ผู้ที่ทำงานใกล้ชิด และอดีตสมาชิกเสรีไทย ดังที่ ดร.ไสว สุทธิพิทักษ์ ได้บันทึกไว้ในบทความนี้
แนวคิด-ปรัชญา
20
มกราคม
2565
ขออนุโมทนาท่านที่มีน้ำใจบอกข่าวแจ้งเรื่องราวให้ทราบว่า เวลานี้โยมท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ถ้าท่านยังอยู่จะมีอายุถึง ๑๑๐ ปี ถ้าลำพังอาตมานึกถึงท่านก็ได้แต่นึกถึงนาม นึกถึงชื่อก็ไม่ทราบว่าท่านมีอายุถึงบัดนี้ ๑๑๐ ปีแล้ว ถ้าพูดอย่างคนทั่วๆ ไป ชอบพูดกัน ก็บอกว่าเวลาช่างรวดเร็วเสียเหลือเกิน 
Subscribe to มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์