ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัชกาลที่ 7

บทบาท-ผลงาน
24
กรกฎาคม
2567
บันทึกประกอบคำประท้วง กรณีหนังสือชีวิต 5 แผ่นดิน เรื่องข้อเท็จจริงในการอภิวัฒน์ 2475 ตอนที่ 9 เสนอว่าข้อมูลทางประวัติศาสตร์ในหนังสือชีวิต 5 แผ่นดินของข้าพเจ้าโดยประยูร ภมรมนตรี นั้นบิดเบือนในประเด็นสำคัญคือ เรื่องปฐมรัฐธรรมนูญ, พระยาทรงสุรเดช และพระยามโนปกรณ์นิติธาดา
แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2567
อธึกกิต แสวงสุข เสนอบทเรียนประวัติศาสตร์การเคลื่อนไหวของประชาชนจาก ปี 2475-2563 และชี้ให้เห็นมุมมองและความคาดหวังต่อระบอบการปกครองที่แตกต่างกันของฝ่ายอนุรักษนิยมและฝ่ายประชาธิปไตย รวมทั้งวิเคราะห์การเคลื่อนไหวของคนรุ่นใหม่หลังปี 2563
บทบาท-ผลงาน
6
มิถุนายน
2567
บันทึกฉบับ 6 มีนาคม 2526 ของนายปรีดี พนมยงค์ฯ แสดงสัจจะทางประวัติศาสตร์ก่อนการอภิวัฒน์ 2475 จากหลักฐานเอกสาร (authentic documents) เพื่อโต้แย้งมายาคติ 2475 ใน 2 เรื่องได้แก่ รัชกาลที่ 7 จะพระราชทานธรรมนูญฯ และกฎหมายเทศบาลเทียบเท่ารัฐธรรมนูญ
บทบาท-ผลงาน
4
มิถุนายน
2567
อุดมการณ์และการจัดตั้งของคณะราษฎร ตอนที่ 2 เสนอให้เห็นการจัดตั้งคณะราษฎรผ่านหลักการของผู้ก่อการคนสำคัญ อาทิ นายปรีดี พนมยงค์ และสรุปได้ว่าการอภิวัฒน์ 2475 นํามาซึ่งการสิ้นสุดของอุดมการณ์แห่งรัฐ (state ideology) ราษฎรกลายมาเป็นมูลฐานแห่งอํานาจและความชอบธรรมแทนสถาบันพระมหากษัตริย์โดยมีรัฐธรรมนูญเป็นตัวสัญลักษณ์
บทสัมภาษณ์
21
พฤษภาคม
2567
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับสารคดีนำเสนอเรื่องสมุดปกเหลืองหรือเค้าโครงการเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์ ผ่านบทสัมภาษณ์ของ รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ที่อธิบายที่มาและหลักการของสมุดปกเหลืองในอดีตรวมทั้งการส่งต่อหลักการสำคัญทางเศรษฐกิจที่สังคมไทยนำมาประยุกต์และปฏิบัติได้จริงจนถึงปัจจุบัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
เมษายน
2567
เอกสารการปกครองสมัยรัชกาลที่ 7 แม้จะเรียกว่า "รัฐธรรมนูญ" แต่มุ่งเน้นการรวมอำนาจไว้ที่พระมหากษัตริย์และชนชั้นสูง สะท้อนลักษณะการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์มากกว่าระบอบประชาธิปไตย การศึกษาเอกสารอย่างละเอียดจะทำให้เข้าใจบริบททางประวัติศาสตร์ในช่วงเปลี่ยนผ่านได้ดียิ่งขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
มีนาคม
2567
ความสัมพันธ์พระยาพหลฯกับพระปกเกล้าฯ เริ่มด้วยความร่วมมือแต่กลายเป็นขัดแย้ง เนื่องจากพระองค์ทรงมีความกังวลต่อระบอบประชาธิปไตย มีข้อสงสัยบ่งชี้ว่าทรงรู้เห็นกบฏบวรเดช ก่อนเสด็จออกประเทศและสละราชสมบัติ สะท้อนความตึงเครียดจากการเปลี่ยนผ่านการปกครอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
20
ตุลาคม
2566
กวินพร เจริญศรี นำเรื่องราว ปาฐกถา บทเพลง และบทสนทนาที่เกิดขึ้นภายในงาน “เจ้าฝันถึงโลกสีใด” 14 ตุลา จิตวิญญาณประชาธิปไตย เนื่องในวาระ 50 ปี 14 ตุลา โดยเรียบเรียงออกมาสู่ผู้อ่านอีกครั้งในรูปแบบบทความถึงบรรยากาศ ประเด็น และเนื้อหาสำคัญที่สมควรเน้นย้ำในฐานะของการรำลึก “50 ปี 14 ตุลา”
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
สิงหาคม
2566
ชีวประวัติย่อของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี พระบรมราชินี ตลอดจนช่วงชีวิตในอังกฤษระหว่างที่สงครามโลกครั้งที่ 2 พร้อมทั้งบทบาทของพระองค์ในฐานะผู้สนับสนุนกิจการเสรีไทยสายอังกฤษในด้านต่างๆ อีกทั้งชีวิตในบั้นปลายของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี ในช่วงทศวรรษที่ 2490 รวมไปถึงความสัมพันธ์ที่แนบแน่นระหว่างพระองค์ กับ ครอบครัวปรีดี - พูนศุข พนมยงค์
แนวคิด-ปรัชญา
1
สิงหาคม
2566
ย้อนรอยประวัติศาสตร์เรื่องการแสวงหาบทบาทให้กับสถาบันกษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญในรัชสมัยของรัชกาลที่ 8 ช่วงระหว่างปี 2478-2487 ว่าสถาบันกษัตริย์และสถาบันการเมืองในช่วงเวลานั้น มีส่วนในการแสวงหาบทบาทของสถาบันกษัตริย์ใต้ระบอบรัฐธรรมนูญเช่นไร
Subscribe to รัชกาลที่ 7