ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐบุรุษอาวุโส

บทสัมภาษณ์
11
พฤศจิกายน
2563
หลังจากที่นายปรีดี พนมยงค์ ย้ายมาพำนักในประเทศฝรั่งเศสตั้งแต่ พ.ศ. 2513 ก็มีฝ่ายปรปักษ์ของเขา รื้อฟื้นเรื่องราวต่าง ๆ มาโจมตีอย่างไม่ขาดสาย และนายปรีดีก็ฟ้องจนชนะในทุกคดีความ
บทบาท-ผลงาน
8
พฤศจิกายน
2563
รัฐประหาร 8 พฤศจิกายน 2490 ได้ยุติบทบาททางการเมืองในประเทศไทยของนายปรีดี พนมยงค์ โดยสิ้นเชิง และตามมาด้วยความพยายามของฝ่ายที่เป็นปรปักษ์ในทุกวิถีทางที่จะทำลายล้างท่านรัฐบุรุษอาวุโสอย่างที่ไม่เคยมีบุคคลใดเคยประสบมาแต่ก่อน
บทบาท-ผลงาน
2
พฤศจิกายน
2563
หลังลาออกจากตำแหน่งนายกรัฐมนตรีในปี 2489 แล้ว นายปรีดี พนมยงค์ ได้รับเชิญจากรัฐบาลหลายประเทศให้ไปเยือนประเทศเหล่านั้น
บทบาท-ผลงาน
29
ตุลาคม
2563
ภายหลังที่ได้ตรากตรํารับใช้ชาติบ้านเมืองในภารกิจอันมีความสําคัญยิ่งมาตลอดสงคราม เป็นเวลาถึง 4 ปี จนกระทั่งสันติภาพ ตลอดจนเอกราชและอธิปไตยของประเทศไทยได้กลับคืนมา ท่านรัฐบุรุษอาวุโสฯ มีความชอบธรรมที่จะพักผ่อนทั้งกายและใจ โดย “รับปรึกษากิจราชการแผ่นดิน” ตามที่ระบุไว้ในพระบรมราชโองการฯ เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2488  การณ์มิได้ไปเป็นเช่นนั้น ความจริงปรากฏว่า ในระหว่างปี พ.ศ.2489-2490 ท่านปรีดี พนมยงค์ กลับต้องรับภารกิจที่หนักหน่วง และต้องเผชิญกับปัญหาทางการเมืองอย่างที่ไม่เคยประสบมาก่อนในอดีต 
บทสัมภาษณ์
29
กันยายน
2563
ปรัชญาทางการเมืองของข้าพเจ้า คือ สังคมนิยมวิทยาศาสตร์ประชาธิปไตย (Scientific Democratic Socialism) เพราะว่าประชาธิปไตยและสังคมนิยมควรมีพื้นฐานเป็นวิทยาศาสตร์
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กันยายน
2563
หลังจากนายปรีดี พนมยงค์ ถึงแก่อสัญกรรมที่ประเทศฝรั่งเทศ ในวันที่ 2 พฤษภาคม 2526 ม.จ.มารยาตรกัญญา ดิศกุล ได้มีลายพระหัตถ์ถึงท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ แสดงความเสียพระทัย
บทบาท-ผลงาน
12
กันยายน
2563
'ทองปราย พันแสง' กล่าวถึงรอยด่างทางประวัติศาสตร์ กับอุปทานคติการเมือง หลังการอสัญกรรมของนายปรีดี พนมยงค์ เมื่อปี 2526
แนวคิด-ปรัชญา
6
กันยายน
2563
ความคิดทางเศรษฐกิจของท่านปรีดีนั้นมีลักษณะล้ำสมัยเมื่อเปรียบเทียบกับบรรดาผู้คนในยุคของท่าน ความคิดของท่านหลายประการจึงได้รับปฏิบัติในภายหลัง และความคิดบางประการ ได้รับการต่อต้านในการนําเสนอในช่วงแรก  สิ่งที่สะท้อนความคิดทางเศรษฐกิจของรัฐบุรุษอาวุโสได้อย่างเป็นระบบมากที่สุด คือ เค้าโครงเศรษฐกิจ หรือที่เรารู้จักกันดีในนาม สมุดปกเหลืองของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม นั่นเอง 
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
สิงหาคม
2563
บางส่วนจากทัศนะของ Lord Mountbatten ผู้บัญชาการสูงสุดของฝ่ายสัมพันธมิตรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่มีต่อนายปรีดี พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
5
สิงหาคม
2563
บทบาทของนายสงวน ตุลารักษ์ ในหน้าประวัติศาสตร์เสรีไทย มีความชัดเจนและโดดเด่น ซึ่งหากจะพิจารณาอย่างเป็นธรรมและถ่องแท้แล้ว จะเห็นได้ว่าเป็นรองกว่าบุคคลอื่น ๆ ในขบวนการเสรีไทยทั้งภายในและภายนอกประเทศเพียงไม่กี่คนเท่านั้น
Subscribe to รัฐบุรุษอาวุโส