ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐสวัสดิการ

แนวคิด-ปรัชญา
30
มิถุนายน
2564
ปัญหาการแพร่ระบาดของ COVID-19 รวมทั้งปัญหาวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจนั้น ได้ทำให้ความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยเพิ่มมากขึ้น ซึ่งในวันนี้วิทยากรทั้งหลายที่จะมาร่วมเสวนาก็จะได้ร่วมกันมองว่า “เราจะฝ่าวิกฤตนี้ไปได้อย่างไร”
25
มิถุนายน
2564
สรุปประเด็นสำคัญจาก PRIDI Talks #11 “89 ปีแห่งการอภิวัฒน์สยาม: สวัสดิการและบทบาทของรัฐในการสร้างความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจแก่ประชาชน”
21
มิถุนายน
2564
หนังสือเล่มนี้จะเป็นประตูเชื่อมโยงแนวคิดด้านเศรษฐกิจของปรีดี พนมยงค์ เข้ากับกระแสเรียกร้องให้มีรัฐสวัสดิการของคนยุคปัจจุบัน ซึ่งอาจารย์ษัษฐรัมย์มองว่า ปรีดี พนมยงค์เป็นสัญลักษณ์ของการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย การต่อสู้เพื่อความเท่าเทียม และที่สำคัญที่สุด จิตวิญญาณของปรีดี พนมยงค์ คือ “จิตวิญญาณแห่งการต่อสู้เพื่อรัฐสวัสดิการ” ที่จะนำไปสู่ความสุขสมบูรณ์ของราษฎรอย่างแท้จริง
18
มิถุนายน
2564
ผู้เขียน : ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี พิิมพ์์ครั้งที่่ 1 : มิถุนายน 2564 พิมพ์ที่ : บริษัท ภาพพิมพ์ จำกัด ปีที่พิมพ์ : 2564 จำนวนหน้า : 176 หน้า
12
มิถุนายน
2564
กิจกรรมเสวนา PRIDI Talks #11 89 ปีแห่งการอภิวัฒน์สยาม: สวัสดิการและบทบาทของรัฐ
แนวคิด-ปรัชญา
18
พฤษภาคม
2564
"สวัสดิการทางสังคม" เป็นโจทย์สำคัญของการพัฒนาคุณภาพชีวิตมนุษย์ ซึ่งประกอบไปด้วยการพัฒนาในหลายมิติ ได้แก่ สวัสดิการสำหรับเด็กและครอบครัว สวัสดิการสำหรับคนทำงาน สวัสดิการสำหรับผู้สูงอายุ สวัสดิการสำหรับผู้ด้อยโอกาส สวัสดิการรักษาพยาบาล และ สวัสดิการการศึกษา
แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤษภาคม
2564
ปาฐกถาวันปรีดี พนมยงค์ “รัฐสวัสดิการเพื่อความสุขสมบูรณ์ของราษฎร” เนื่องในวาระ 121 ปี ชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ 11 พฤษภาคม 2564
บทสัมภาษณ์
9
พฤษภาคม
2564
PRIDI Interview ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี: การต่อสู้เพื่อรัฐสวัสดิการ คือ การต่อสู้เพื่อความเสมอภาคของประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
7
พฤษภาคม
2564
ตัดตอนมาจาก เวทีวิชาการการนำเสนองานวิจัยและบทความ “จินตนาการสู่สังคมไทยเสมอหน้า” ข้อเสนอนโยบายการเข้าถึงสวัสดิการสังคม และ สุขภาวะ หัวข้อ “ประกันสังคมและกฎหมายแรงงาน” โดย รศ.ดร. ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี
บทบาท-ผลงาน
5
พฤษภาคม
2564
สถานการณ์การระบาดของเชื้อไวรัสโควิด-19 สะท้อนภาพของระบบสวัสดิการโดยรวมของสังคมไทยว่าอยู่ในขั้นวิกฤตโดยเฉพาะด้านสาธารณสุข
Subscribe to รัฐสวัสดิการ