ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

รัฐสวัสดิการ

แนวคิด-ปรัชญา
4
พฤศจิกายน
2567
อนุกรรมการพัฒนาสิทธิประโยชน์แรงงานนอกระบบ เสนอจุดเด่นและสิทธิประโยชน์เพิ่มเติมต่อกลุ่มแรงงานอิสระ (มาตรา40) เพื่อนำเสนอต่อคณะกรรมการประกันสังคมในลำดับต่อไป
ศิลปะ-วัฒนธรรม
22
กันยายน
2567
บทวิเคราะห์ทางวัฒนธรรมและเนื้อหาภาพยนตร์เรื่องวิมานหนาม (The Paradise of Thorns) ซึ่งประกอบด้วยประเด็นร่วมสมัยในสังคมไทยทั้งกฎหมายสมรสเท่าเทียม เพศสภาวะ ครอบครัวในชนบท และเศรษฐกิจในท้องถิ่นห่างไกลอย่างแหลมคม
แนวคิด-ปรัชญา
29
สิงหาคม
2567
หากในครานั้นนายปรีดี พนมยงค์ไม่ได้เสนอเค้าโครงการเศรษฐกิจอันเป็นรากฐานของรัฐสวัสดิการขึ้น ปัจจุบันนี้สถานการณ์ทางการเมืองจะเป็นไปในทิศทางใด อย่างไรก็ตามแม้ว่าจะไม่มีข้อเสนอดังกล่าว พลวัตทางการเมืองอาจก่อให้เกิดแนวทางนี้ขึ้นในสักวัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
กรกฎาคม
2567
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และรังสรรค์ ธนะพรพันธุ์ เขียนเล่าชีวประวัติและผลงานสำคัญของ ศ.ดร. ป๋วย อึ๊งภากรณ์ ไว้อย่างละเอียดและรอบด้านนับตั้งแต่ในครรภ์มารดาจนถึงเชิงตะกอน
บทสัมภาษณ์
21
พฤษภาคม
2567
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับสารคดีนำเสนอเรื่องสมุดปกเหลืองหรือเค้าโครงการเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์ ผ่านบทสัมภาษณ์ของ รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ ที่อธิบายที่มาและหลักการของสมุดปกเหลืองในอดีตรวมทั้งการส่งต่อหลักการสำคัญทางเศรษฐกิจที่สังคมไทยนำมาประยุกต์และปฏิบัติได้จริงจนถึงปัจจุบัน
แนวคิด-ปรัชญา
1
พฤษภาคม
2567
โครงสร้างแรงงานไทยเปลี่ยนจากเกษตรกรรมสู่อุตสาหกรรมและบริการ ส่งผลให้จิตสำนึกร่วมของแรงงานเสื่อมถอย แต่มีสหภาพแรงงานรุ่นใหม่เกิดขึ้น สร้างโอกาสเปลี่ยนแปลงเพื่อประโยชน์แรงงานในอนาคต
บทบาท-ผลงาน
17
เมษายน
2567
ข้อเสนอด้านเศรษฐกิจและสวัสดิการของปรีดี พนมยงค์ ยังมีความทันสมัย แม้บางประเด็น เช่น การผูกขาดทางเศรษฐกิจ การแยกส่วนนโยบาย และระบบภาษี ยังไม่ได้รับการแก้ไข จึงจำเป็นต้องผลักดันต่อไป
แนวคิด-ปรัชญา
22
มกราคม
2567
ภัสราวลี ธนกิจวิบูลย์ผล กล่าวถึงประสบการณ์ การทำกิจกรรมในมหาวิทยาลัย ที่ทำให้เจอกับการสบประมาท การด้อยค่า สาเหตุสำคัญมาจากสภาพสังคมไทยที่ถูกกดทับด้วยระบบชายเป็นใหญ่ นอกจากนั้นยังกล่าวถึงการต่อสู้ช่วงในปี 2559 ซึ่งเป็นกรณีของ ‘กรกนก คำตา’ หรือพี่ปั๊ป ที่ถูกจับเข้าไปในเรือนจำ อีกทั้งประเด็นเรื่องรัฐสวัสดิการ และรัฐธรรมนูญอีกด้วย
แนวคิด-ปรัชญา
19
มกราคม
2567
'พัทธ์ธีรา นาคอุไรรัตน์' เปิดประเด็นการเสวนาด้วยการกล่าวถึงท่านผู้หญิงพูนศุข ที่เป็นต้นแบบสำคัญที่นักสันติภาพที่สำคัญคนหนึ่งในสังคมไทย อีกทั้งบทบาทและอุปสรรคของผู้หญิง ที่ลุกขึ้นมาเป็นแกนนำในการผลักดันประเด็นต่างๆ รวมไปถึงความเจ็บปวดของคนกลุ่มน้อยที่ในสังคมรับฟังแต่คนเสียงดังๆ
บทสัมภาษณ์
20
ธันวาคม
2566
PRIDI Interview : เลือกตั้งกรรมการประกันสังคม อนาคตรัฐสวัสดิการไทย รองศาสตราจารย์ ดร.ษัษฐรัมย์ ธรรมบุษดี ตัวแทนจากทีมประกันสังคมก้าวหน้าถึงความสำคัญของการเลือกตั้งกรรมการประกันสังคมและกองทุนประกันสังคมมูลค่ากว่า 2.3 ล้านล้านบาท
Subscribe to รัฐสวัสดิการ