รัฐสวัสดิการ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
16
ธันวาคม
2566
สรุปสาระสำคัญภายในงาน“ เลือกตั้งคณะกรรมการประกันสังคม ปฏิรูปอะไร? อย่างไร?” เมื่ออังคารที่ 12 ธันวาคม 2566 ณ ห้องประชุมประภาศน์ อวยชัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์
บทความ • ศิลปะ-วัฒนธรรม
27
พฤศจิกายน
2566
4-5 พฤศจิกายน 2566 ในเทศกาลละครกรุงเทพ ณ หอศิลป์กรุงเทพ สังคมไทยได้ตระหนักรู้ถึงความเป็นวัฒน์ วรรลยางกูร และผลงานอันมีค่าของเขาอีกครั้งหนึ่ง ดังที่ผู้เป็นบุตรได้บอกเล่าถึงความเป็นตัวตนทางความคิดของผู้เป็นพ่อด้วยความรักและภาคภูมิใจในรูป Documentary Theatre
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
14
พฤศจิกายน
2566
นำเสนอถึงปัญหาเศรษฐกิจไทยภายหลังการอภิวัฒน์ 2475 จากบทสัมภาษณ์ศาสตราภิชาน แล ได้กล่าวไว้ 3 เรื่องสำคัญ พร้อมกับผูกประเด็นเหล่านั้นกับแนวคิดและข้อเสนอของ ผศ.ดร. ธร ปิติดล จากงานวิจัยชื่อ “แนวคิดและอุดมการณ์กับพัฒนาการระบบสวัสดิการไทย”
บทความ • บทสัมภาษณ์
6
พฤศจิกายน
2566
ศาสตราภิชาน แล ดิลกวิทยรัตน์ ผู้เชี่ยวชาญด้านเศรษฐศาสตร์แรงงาน ประจำจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย กล่าวถึงประเด็นด้านแรงงานนับตั้งแต่รากฐานทางเศรษฐกิจภายหลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 จนถึงประเด็นด้านขบวนการแรงงานรวมถึงหลักประกันทางกฎหมายของแรงงานไทยที่ผกผันไปตามพลวัตของประวัติศาสตร์เศรษฐศาสตร์การเมืองไทย
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
28
ตุลาคม
2566
ความจำเป็นของการปฏิรูปประกันสังคมและกองทุนประกันสังคม ในฐานะกองทุนขนาดใหญ่ที่ถือครองเม็ดเงินจำนวนมหาศาลในขณะเดียวกันก็ดูแลคนจำนวนกว่า 24 ล้านคนทั่วประเทศที่ปัจจุบันยังคงปรากฏข้อบกพร่องในหลากหลายด้าน
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
23
กันยายน
2566
บทความนี้ อาจารย์ษัษฐรัมย์ นำเสนอถึงเหตุผลสำคัญเบื้องต้นว่าทำไมบรรดาชนชั้นนำในสังคมจึงปฏิเสธสวัสดิการ “บำนาญถ้วนหน้า” อันเกี่ยวโยงกับเหตุผลเรื่องความกังวลในค่าใช้จ่าย ผลทางเศรษฐกิจระยะสั้น ความมั่นคงทางสังคม หรืออื่นๆ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
12
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้นำเสนอถึงปัจจัยที่ส่งผลให้คนจนก่ออาชญากรรมและถูกพบเห็นมากกว่าคนรวย ในขณะเดียวกันคนรวยทำอย่างไรจึงก่ออาชญากรรมได้โดยไม่ถูกนับเป็นอาชญากรรม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
26
กรกฎาคม
2566
หนึ่งในปัจจัยสำคัญและแสนยากเข็ญต่อการเปลี่ยนแปลงสังคมการเมืองคือ การเปลี่ยนทัศนคติและมุมมองทางการเมือง ซึ่งไม่ใช่เรื่องง่ายสำหรับบุคคลที่จะเปลี่ยนความเชื่อหรือฟากฝั่งที่ตนยึดถือมาตลอด โดยเฉพาะกับบุคคลที่มีผลประโยชน์ผูกพันกับความเชื่อดังกล่าว โดยเฉพาะชนชั้นนำอนุรักษนิยม
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
11
กรกฎาคม
2566
ความเข้าใจที่แตกต่างของคนหลายรุ่นต่อรัฐสวัสดิการ” ทบทวนถึงความเข้าใจแนวคิดเรื่องรัฐสวัสดิการของบุคคลในช่วงวัยต่างๆ เพื่อทำให้เห็นมุมมองว่าคนในแต่ละช่วงวัยมีมุมมองที่แตกต่างกันเช่นไร และด้วยเหตุอันใดบุคคลในแต่ละช่วงวัยถึงมีความเข้าใจที่แตกต่างกันเช่นนั้น
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
Subscribe to รัฐสวัสดิการ
6
มิถุนายน
2566
ความสำเร็จของพรรคการเมืองฝ่ายประชาธิปไตยภายหลังการเลือกตั้ง มีนัยสำคัญอย่างยิ่งต่อความเปลี่ยนแปลงเพื่อสร้างความแข็งแรงและมั่นคงของการรวมตัวภาคประชาชนในรูปแบบสหภาพแรงงาน เพื่อผลักดันให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและป้องกันไม่ให้ฝั่งอนุรักษนิยมชักนำให้ประเทศย้อนหลังกลับไปยังจุดเดิม