ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

วันสันติภาพไทย

บทบาท-ผลงาน
4
กันยายน
2566
ดร.ผุสดี ตามไท นำเกร็ดทางประวัติศาสตร์ที่สะท้อนถึงความเป็นมนุษย์ที่แม้ว่าจะดำรงอยู่ในสภาวะสงครามที่มีความยากลำบากและอุปสรรคนานับประการ แต่ยังคงปรากฏความอาทรระหว่างกัน
แนวคิด-ปรัชญา
3
กันยายน
2566
การได้มาซึ่งสันติภาพของประเทศไทยล้วนมาจากการเสียสละของสมาชิกขบวนการเสรีไทยทุกภาคส่วนและไม่ใช่เพียงแค่การต่อต้านผู้มารุกรานไทยเท่านั้น แต่ยังต้องรักษาความเป็นมิตรกับฝ่ายสัมพันธมิตรด้วย
29
สิงหาคม
2566
เนื่องในวาระ 74 ปี วันสันติภาพไทย ทายาทของ ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน ได้อนุญาตให้นำ บันทึกลับของพันโท อรุณ เสรีไทย 136 มาตีพิมพ์เผยแพร่อีกครั้ง ภายในหนังสือเล่มนี้มีการกล่าวถึงผลงาน อุดมคติ และความเสียสละของสมาชิกขบวนการเสรีไทย บันทึกการเสวนาที่จัดขึ้นในวาระ 73 ปี วันสันติภาพไทย และรำลึกถึงศาสตราจารย์ ดร.วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร
29
สิงหาคม
2566
เนื่องในวาระ 73 ปี วันสันติภาพไทย ภายในหนังสือเล่มนี้มีการกล่าวถึงงานรำลึก 72 ปี วันสันติภาพไทย ประวัติของ ม.จ.ศุภสวัสดิ์วงศ์สนิท สวัสดิวัตน รวมถึงเรื่องราวของคุณจำกัด พลางกูร ผู้เขียน : กษิดิศ อนันทนาธร พิมพ์ที่ : สยามปริทัศน์, กรุงเทพมหานคร พิมพ์ครั้งที่ : - ปีที่พิมพ์ : 2561 จำนวนหน้า : 160 หน้า ISBN:  978-974-315-978-7 สารบัญ
17
สิงหาคม
2566
งานวันสันติภาพไทยประจำปี 2566
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
สิงหาคม
2566
อาคารพิพิธภัณฑ์เสรีไทยอนุสรณ์ นับเป็นหนึ่งในอาคารที่มีความสำคัญกับสังคมไทยในฐานะสถานที่ซึ่งรวบรวมความทรงจำและบอกเล่าถึงความเป็นขบวนการเสรีไทยเพื่อการปลดปล่อยการยึดครองประเทศไทยของประเทศญี่ปุ่น และร่วมมือกับฝ่ายสัมพันธมิตรในสมัยสงครามโลกครั้งที่สอง
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
กรกฎาคม
2566
เรื่องราวข้อเขียนรำลึกถึง ‘ม.ร.ว.สายสวัสดี สวัสดิวัตน’ โดย ‘กษิดิศ อนันทนาธร’ ผู้สนใจประวัติศาสตร์การเมืองและสังคมไทย ซึ่งได้รู้จักและมีความคุ้นเคยกับสตรีผู้นี้มากว่า 12 ปี
16
มิถุนายน
2566
15 มิถุนายน 2566 (วานนี้) ณ ห้องสุทัศน์ ชั้น 2 ศาลาว่าการกรุงเทพมหานคร สถาบันปรีดี พนมยงค์ และ กรุงเทพมหานคร ร่วมประชุมหารือการจัดกิจกรรมในวาระ “78 ปี วันสันติภาพไทย ประจำปี 2566” เพื่อรำลึกถึงเหตุการณ์สำคัญในหน้าประวัติศาสตร์และคุณูปการของวีรชนขบวนการเสรีไทยซึ่งจะจัดขึ้นในวันพุธที่ 16 สิงหาคม 2566 
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
กันยายน
2565
แม้จะมีบันทึกรายนามของวีรชนที่เสียชีวิตจากการปะทะกับกองทัพญี่ปุ่น แต่จากการค้นคว้าของผู้เขียนยังคงไม่ปรากฏเอกสารที่กล่าวถึงวีรกรรมการต่อสู้ของครูลำยองอย่างเป็นทางการ มีเพียงเรื่องเล่าจากผู้ที่อยู่ร่วมในช่วงเวลาเดียวกัน
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
สิงหาคม
2565
ความเป็นมาของสวนเสรีไทยตั้งแต่เริ่มต้นจากการเป็น "บึงตาทอง" โดยผ่านการพัฒนาตามยุคสมัยจนประสบความสำเร็จเป็น "สวนเสรีไทย" ในปัจจุบัน
Subscribe to วันสันติภาพไทย