ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

วันสันติภาพไทย

19
สิงหาคม
2563
เมื่อวันที่ 16 สิงหาคม 2563 วันนี้เมื่อ 75 ปีที่แล้วคือวันที่นายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 8 ได้ออก “ประกาศสันติภาพ” ในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ให้สถานะสงครามกับอังกฤษ-สหรัฐฯ เป็นโมฆะ ในวาระสำคัญดังกล่าวสถาบันปรีดี พนมยงค์ จึงร่วมกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์จัดงาน “ครบรอบ 75 ปี วันสันติภาพไทย” และ “รำลึก 120 ปีชาตกาล ปรีดี พนมยงค์” โดยมี พลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ประธานองคมนตรี เป็นประธานในพิธีงานรำลึกช่วงเช้า
17
สิงหาคม
2563
ครบรอบ 75 ปี "วันสันติภาพไทย" และรำลึก 120 ปี ชาตกาล ปรีดี พนมยงค์ ภายหลังเมื่อวันที่ 16 สิงหาคม พ.ศ. 2488 ประเทศไทยโดยนายปรีดี พนมยงค์ หัวหน้าขบวนการเสรีไทย ในฐานะผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในรัชกาลที่ 8 ได้ออกประกาศสันติภาพในพระปรมาภิไธยพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ให้การประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่ เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 เป็นโมฆะ ซึ่งต่อมาได้กำหนดให้วันที่ 16 สิงหาคมของทุกปี เป็น "วันสันติภาพไทย"
17
สิงหาคม
2563
'อนุสรณ์ ธรรมใจ' ประธานกรรมการบริหารสถาบันปรีดี พนมยงค์ บรรยายบทเรียนจากขบวนการเสรีไทยว่าด้วย วิกฤตเศรษฐกิจและการอภิวัฒน์สู่สันติ ในวาระ 75 ปีวันสันติภาพไทย แนะแนวทางออกจากวิกฤตการณ์ทางการเมืองและความเสี่ยงของความรุนแรงและการรัฐประหารครั้งใหม่ ชี้การต่อสู้เพื่อประชาธิปไตยและสันติธรรมเป็นสงครามยืดเยื้อ อาจต้องใช้เวลาชั่วชีวิต  
16
สิงหาคม
2563
PRIDI TALKS #5 เศรษฐกิจแปรผัน สันติภาพแปรเปลี่ยน: จากขบวนการเสรีไทยสู่ยุคปัจจุบัน วันอาทิตย์ 16 สิงหาคม 2563 เวลา 13.00 - 17.00 น.
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2563
“ถ้าปราศจากจํากัด พลางกูร งานขององค์กรใต้ดินครั้งนี้อาจจะล้มเหลว หรือหากสําเร็จ ก็คงเป็นไปในรูปที่ผิดแผกกว่าที่ได้ปรากฏแก่ตาโลกภายหลัง”
เกร็ดประวัติศาสตร์
15
สิงหาคม
2563
อาจารย์เออิจิ มูราชิมา นักประวัติศาสตร์ชื่อดังชาวญี่ปุ่น เปิดเผยข้อมูลทางประวัติศาสตร์ที่น่าสนใจว่า ในตอนที่จอมพล ป. พิบูลสงคราม ประกาศสงครามกับอังกฤษและสหรัฐอเมริกานั้น ฝ่ายญี่ปุ่นค่อนข้างตกใจ
เกร็ดประวัติศาสตร์
14
สิงหาคม
2563
สงครามโลกครั้งที่ 2 เกิดขึ้นเมื่อใด? ประเทศไทยเกี่ยวข้องอย่างไร? และมีสถานะใดในสงคราม? หาคำตอบได้จากแผนภาพอินโฟกราฟิกนี้
แนวคิด-ปรัชญา
13
สิงหาคม
2563
บทสนทนากับอาจารย์พรรณีในครั้งนี้ ช่วยให้เรามีโอกาสทบทวนถึงผลกระทบทางเศรษฐกิจ ตลอดจนอิทธิพลของจักรวรรดิญี่ปุ่นเหนือประเทศไทยในมิติอื่นที่นอกเหนือไปจากเรื่องศึกสงคราม และเกมการเมือง
เกร็ดประวัติศาสตร์
12
สิงหาคม
2563
ในปี 2515 นายปรีดีฯ เคยอธิบายไว้ว่า ทำไมเพื่อนนักเรียนในฝรั่งเศส ทั้งที่เป็นผู้ร่วมก่อการและไม่ใช่ผู้ร่วมก่อการ จึงเรียกตนเองว่า "อาจารย์" เพื่อโต้แย้งคำอธิบายของนายควง อภัยวงศ์ เพื่อนร่วมก่อการอีกคนหนึ่งซึ่งได้เข้าร่วมคณะราษฎรก่อนเปลี่ยนแปลงการปกครองไม่นานนัก
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
สิงหาคม
2563
บางส่วนจากทัศนะของ Lord Mountbatten ผู้บัญชาการสูงสุดของฝ่ายสัมพันธมิตรในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ที่มีต่อนายปรีดี พนมยงค์
Subscribe to วันสันติภาพไทย