ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

วันสันติภาพไทย

บทบาท-ผลงาน
16
สิงหาคม
2565
16 สิงหาคม 2488 นายปรีดี พนมยงค์ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ ในรัชกาลที่ 8 ได้ออก “ประกาศสันติภาพ” อันมีใจความสำคัญว่าการประกาศสงครามต่อบริเตนใหญ่และสหรัฐอเมริกา เมื่อวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2485 นั้น “เป็นโมฆะ” ไม่ผูกพันกับประชาชนชาวไทย เนื่องจากเป็นการกระทำอันผิดจากเจตจำนงของประชาชนชาวไทย และขัดต่อบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญและกฎหมายบ้านเมือง
บทบาท-ผลงาน
31
กรกฎาคม
2565
เกร็ดประวัติศาสตร์ระหว่าง 'เปรม บุรี' และ 'นายปรีดี พนมยงค์' ท่ามกลางบรรยากาศงานสังสรรค์ภายหลังสิ้นสุดสงครามของเหล่าผู้กล้าเสรีไทยสายต่างประเทศ ณ บ้านถนนตก พร้อมด้วยเรื่องราวเส้นทางการเข้าร่วมขบวนการเสรีไทยของสองพี่น้องตระกูลบุรี คือ 'เปรม' และ 'รจิต'
บทบาท-ผลงาน
25
กันยายน
2564
16 สิงหาคม 2488 ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ฯ รัชกาลที่ 8 ได้ประกาศสันติภาพ แสดงจุดยืนแห่งความเป็นกลาง สันติภาพ และอิสรภาพของชนชาวไทยต่อประชาคมโลก เป็นการประกาศเอกราช อธิปไตย ทำให้ประเทศไทยไม่ตกเป็นชาติผู้แพ้สงคราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
25
สิงหาคม
2564
PRIDI Talks #12 “รำลึก 76 ปี วันสันติภาพไทย: ความสำคัญของหลักเอกราช”
บทบาท-ผลงาน
18
สิงหาคม
2564
นโยบายที่สำคัญที่ท่านปรีดี พนมยงค์ได้วางไว้ ก็คือเรื่องของนโยบายต่างประเทศที่จะต้องอยู่บนหลักของเอกราชและอธิปไตย
16
สิงหาคม
2564
16 สิงหาคม 2564  ครบรอบ 76 ปี วันสันติภาพไทยสถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมมือกับมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ได้จัดงาน PRIDI Talks #12 “ความสำคัญของหลักเอกราชกับการต่างประเทศ” และกิจกรรมเสวนา “รำลึก 76 ปี วันสันติภาพไทย ข้อเท็จจริงเรื่องขบวนการเสรีไทย” ถ่ายทอดสดผ่าน Facebook Live เพจสถาบันปรีดี พนมยงค์ Pridi Banomyoung Institute เวลา 14.00 น.
บทบาท-ผลงาน
16
สิงหาคม
2564
16 สิงหาคม 2488 ‘นายปรีดี พนมยงค์’ ในฐานะผู้สำเร็จราชการฯ ได้ประกาศว่า การประกาศสงครามต่อสหรัฐอเมริกาและบริเตนใหญ่ ในวันที่ 25 มกราคม 2485 เป็นการกระทำอันผิดจากเจตจำนงของประชาชนชาวไทยและฝ่าฝืนขัดต่อบทบัญญัติรัฐธรรมนูญ และกฎหมายบ้านเมือง
16
สิงหาคม
2564
วันที่ 16 สิงหาคมของทุกปีเป็นวันสันติภาพไทย โดยในปีพ.ศ.
9
สิงหาคม
2564
วันที่ 16 สิงหาคม 2488 หรือ 76 ปีที่แล้ว คือวันที่นายปรีดี พนมยงค์ ในฐานะของหัวหน้าขบวนการเสรีไทย ได้ออกประกาศสันติภาพให้การประกาศเข้าร่วมสงครามของประเทศไทย ในเหตุการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นโมฆะ
23
มีนาคม
2564
“พระเจ้าช้างเผือก” นับเป็นภาพยนตร์ไทยขนาดยาวที่เก่าแก่ที่สุด ที่ยังคงหลงเหลืออยู่อย่างครบสมบูรณ์ ปัจจุบัน ฟิล์มภาพยนตร์และสิ่งเกี่ยวเนื่องต่าง ๆ ของ “พระเจ้าช้างเผือก” ได้รับการอนุรักษ์อยู่ที่หอภาพยนตร์ และได้รับการประกาศขึ้นทะเบียนให้เป็นหนึ่งในมรดกภาพยนตร์ของชาติชุดแรก เมื่อ พ.ศ. 2554
Subscribe to วันสันติภาพไทย