ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

วาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์

ชีวิต-ครอบครัว
24
กันยายน
2566
สำหรับวันนี้ขอเสนอตอน "น้ำพริกแอปเปิ้ล" บอกเล่าประสบการณ์ชีวิตระหว่างปิดภาคการศึกษาฤดูร้อน พ่อพาปลายไปท่องเที่ยวตามสถานที่สำคัญในกรุงปักกิ่ง และรอบๆ ปักกิ่ง
ชีวิต-ครอบครัว
17
กันยายน
2566
สำหรับวันนี้ขอเสนอตอน “ตามล่าหาสายลับ” บอกเล่าถึง ผิงผิง สาวน้อยที่จับตามองปลายตั้งแต่แรกเข้าเรียน ได้เอ่ยปากชวนปลายให้มาเข้าร่วมกิจกรรมของเหล่าอนุชนผ้าพันคอแดง
ชีวิต-ครอบครัว
31
ตุลาคม
2565
ย้อนอ่านธรรมกถา โดย "พระไพศาล วิสาโล" ที่แสดงไว้เมื่อครั้งงานประชุมเพลิง นางวาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ โดยมีใจความเกี่ยวกับสัจธรรมของชีวิตอันได้แก่ "ความไม่เที่ยงของชีวิต"
ชีวิต-ครอบครัว
16
กรกฎาคม
2565
เนื่องในวาระคล้ายวันเกิด 16 กรกฎาคม ของ วาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ บุตรสาวคนสุดท้องของครอบครัวปรีดี-พูนศุข ที่ได้รับมรดกทางความคิดและนิสัยรักในความรู้ทางประวัติศาสตร์คล้ายปรีดี พนมยงค์ บิดา
บทบาท-ผลงาน
25
มีนาคม
2565
คุณูปการสำคัญยิ่งของทรรศนะปรีดี พนมยงค์ เรื่องสงครามและสันติภาพ คือการส่งต่อความรู้สู่คนรุ่นใหม่ให้ฉุกคิดถึงความสำคัญของทุกชีวิตที่ไม่ควรจากไปเพราะสงครามอันเป็นผลประโยชน์ระหว่างประเทศมหาอำนาจ ที่มิใช่เพื่อประโยชน์ของประชาชน
ชีวิต-ครอบครัว
13
มีนาคม
2565
“ท่านอาจารย์มีความชอบในภาพยนตร์เป็นการส่วนตัวหรือเปล่าคะ?” คำถามของ สุรัยยา (เบ็ญโส๊ะ) สุไลมาน ผู้ศึกษาประเด็นแนวคิดสันติวิธีของนายปรีดีผ่านภาพยนตร์ "พระเจ้าช้างเผือก" เมื่อครั้งเข้าทำการสัมภาษณ์ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ โดยมี คุณวาณี พนมยงค์ ร่วมสนทนาให้ข้อมูลในวงสัมภาษณ์นั้นด้วย
ชีวิต-ครอบครัว
7
มกราคม
2565
"โรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนแวนต์" สอนให้ข้าพเจ้าซื่อสัตย์ มีวินัย มีมารยาทในสังคม มีวิชาความรู้ โดยเฉพาะภาษาอังกฤษ และฝรั่งเศส ทำให้ข้าพเจ้าทำหน้าที่ภรรยาของนักการเมืองและแม่ของลูกได้อย่างมีความอดทน เชื่อมั่นและไม่ท้อแท้ แม้บางครั้งครอบครัวข้าพเจ้าจะถูกมรสุมการเมืองโถมกระหน่ำอย่างไร้ความปรานี
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
ตุลาคม
2564
วาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์ แปลจากพระราชนิพนธ์บทกวีของสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤษภาคม
2564
"พฤษภาทมิฬ" เหตุการณ์สำคัญหน้าหนึ่งที่ถูกจารึกไว้ในประวัติศาสตร์การเมืองไทย เกิดขึ้นเมื่อคราวที่ พลเอก สุจินดา คราประยูร ได้รับตำแหน่งนายกรัฐมนตรี โดยชนวนเหตุครั้งนั้น คือ การต่อต้านการสืบทอดอำนาจของคณะรักษาความสงบเรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) หัวหน้าผู้ก่อการ คือ พลเอก สุนทร คงสมพงษ์ ผู้บัญชาการทหารสูงสุด ณ ขณะนั้น ได้ทำการรัฐประหารรัฐบาลของ พลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ เมื่อเดือนกุมภาพันธ์ 2534
ชีวิต-ครอบครัว
12
พฤษภาคม
2564
นี่เป็นบันทึกประโยคสุดท้ายด้วยลายมืออันสวยงามของคุณแม่ ท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์ ในวัยย่าง 96 ปี ที่เขียนไว้ในบันทึกประจำวันของท่าน
Subscribe to วาณี พนมยงค์ สายประดิษฐ์