ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ศรีบูรพา

แนวคิด-ปรัชญา
6
เมษายน
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เสนอให้รัฐบาลรับฟังเสียงจากประชาชนที่วิพากษ์วิจารณ์นโยบายทางการทูต แต่เสียงของประชาชนที่รัฐบาลรับฟังกลับกลายเป็นโฆษณาชวนเชื่อ การสนับสนุนจากประชาชนจึงไม่เกิดขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
เมษายน
2568
“นายบำเรอ“ นามปากกาอีกชื่อหนึ่งของกุหลาบ สายประดิษฐ์ ซึ่งวิพากษ์วิจารณ์เกี่ยวกับการรณรงค์ป้องกันอหิวาตกโรคของกรมสาธารณสุข โดยเสนอว่าควรใช้สื่อสิ่งพิมพ์เพื่อสร้างความเข้าใจให้ประชาชนตระหนักถึงอันตรายของโรคระบาดมากขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
มีนาคม
2568
ในวาระ 120 ปีแห่งชาตกาลของกุหลาบ สายประดิษฐ์ หรือศรีบูรพา นักคิดนักเขียนผู้ยิ่งใหญ่ บทความนี้ได้นำเสนองานเขียนด้านพุทธศาสนาของศรีบูรพาคือ อุดมธรรม มีการจัดพิมพ์ในช่วงที่ผู้ประพันธ์ยังมีชีวิตอยู่เพียงเล่มเดียว
วันนี้ในอดีต
31
มีนาคม
2568
31 มีนาคม 2568 ในวาระ 120 ปี ชาตกาลของกุหลาบ สายประดิษฐ์ ขอรำลึกประวัติ ชีวิตผ่านผลงานวรรณกรรมในนามปลายปากกา “ศรีบูรพา“ นับตั้งแต่วัยเยาว์ ความรัก การเมือง อุดมคติ และพุทธศาสนา จนถึงยุคต่อต้านเผด็จการทหาร 2490
วันนี้ในอดีต
26
มีนาคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ นักคิดนักเขียนผู้เรียกร้องความเป็นธรรมในสังคม ผลงานหลายชิ้นเป็นอมตะและสอดรับกับอุดมคติเพื่อประชาชนจึงร่วมสมัยในทุกยุคโดยปี 2567 ผลงานของกุหลาบหมดอายุลิขสิทธิ์จึงนำมาตีพิมพ์ได้ในวงกว้างยิ่งขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
16
มีนาคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิพากษ์การเมืองไทยสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม เมื่อ พ.ศ. 2493 โดยเสียดสีและยั่วล้อว่า ปัญหาการเมืองของรัฐบาลทั้งการโกง การคอรัปชั่นของผู้มีอำนาจ การค้าของเถื่อนเป็นการสร้าง ‘ทฤษฎีใหม่’ ในยุคนี้
แนวคิด-ปรัชญา
1
มีนาคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ ได้เล่าเรื่องอุปมาว่าด้วยความไม่สมเหตุสมผลของระบบศักดินา ที่มนุษย์กลุ่มนึงสมอ้างว่าตัวเองเป็นเทพยดา แล้วควบคุม กดขี่ มนุษย์กลุ่มอื่นๆ เสมือนว่าพวกเขา “กินแกลบ”
แนวคิด-ปรัชญา
26
มกราคม
2568
กุหลาบ สายประดิษฐ์ วิเคราะห์รูปแบบกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินของบุคคลในรัฐบาลพรรคเลเบอร์ของอังกฤษและออสเตรเลียนในปี 2492 ซึ่งแตกต่างจากมุมมองของรัฐมนตรีมหาดไทยในรัฐบาลสมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม
แนวคิด-ปรัชญา
29
ธันวาคม
2567
กุหลาบ สายประดิษฐ์ เสนอเรื่องความลับดำมืดของคดีฝิ่นที่เกิดขึ้น ณ สถานีท่าแค จ. ลพบุรี ในสมัยรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม โดยสะท้อนให้เห็นอำนาจของผู้มีอิทธิพลต่อระบบราชการนำไปสู่ความล้มละลายทางศีลธรรมต่อชาติได้
เกร็ดประวัติศาสตร์
29
พฤศจิกายน
2567
ศักดิชัย บำรุงพงศ์ ในนามปากกา เสนีย์ เสาวพงศ์ แสดงปาฐกถาเรื่องการประพันธ์กับสังคมที่มหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง ในวันที่ 31 มีนาคม 2495 โดยกล่าวถึงความหมาย ของศิลปวรรณคดี และความรู้สึกนึกคิด (Ideology) ของวรรณกรรม เป็นหลัก
Subscribe to ศรีบูรพา