ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

ศรีบูรพา

แนวคิด-ปรัชญา
11
ตุลาคม
2565
การปฏิวัติ 2475 ได้สร้างสังคมใหม่ที่อำนาจสูงสุดการปกครองเป็นของพลเมืองทุกคนซึ่งครั้งหนึ่ง พวกเขาเป็นเพียงผู้อาศัยได้กลายมาเป็นเจ้าของประเทศนั้น การเปลี่ยนแปลงหลักการไปจากระบอบราชาธิปไตยหาได้รับการยอมรับจากกลุ่มอภิชนคนชั้นสูง ผู้มีความคิดแบบอนุรักษนิยมที่เชื่อว่าความไม่เสมอภาคเป็นเรื่องธรรมชาติ สังคมไทยมีจารีตการปกครองโดยชนชั้นสูงมาตลอดประวัติศาสตร์ไม่สมควรเปลี่ยนแปลงให้กลับตาลปัตร จึงนำไปสู่การต่อต้านการปฏิวัติ 2475 โดยกลุ่มอภิชนคนชั้นสูง หรือ กบฏบวรเดช (2476)[1]
ศิลปะ-วัฒนธรรม
29
กรกฎาคม
2565
"สายธารแห่งวรรณกรรมศรีบูรพา" ผ่านบทบาทของ 'วัฒน์ วรรลยางกูร' หนึ่งในผู้รอดชีวิตจากการสังหารหมู่เมื่อ 6 ตุลาคม 2519 ผู้ซึ่งยังคงถ่ายทอดอุดมการณ์ผ่านงานเขียนจนวาระสุดท้ายของชีวิต โดยวิเคราะห์ภายใต้บริบทของเหตุการณ์สำคัญในประวัติศาสตร์ไทยสมัยใหม่ คือ เหตุการณ์ ‘เมษา-พฤษภา 53’
ศิลปะ-วัฒนธรรม
18
กรกฎาคม
2565
จากต้นปี 2565 จนถึงกลางปี แวดวงวรรณกรรมและศิลปวัฒนธรรม ต้องสูญเสียคนทำงานสร้างสรรค์ที่มีจุดยืนประชาธิปไตยคนสำคัญติดๆ กัน อย่างน้อยถึงสี่ราย
แนวคิด-ปรัชญา
1
กรกฎาคม
2565
ณัฐวุฒิ ใสยเกื้อ ภาวะตาสว่างเกิดขึ้นจากการเข้าถึงองค์ความรู้ และการสานต่ออุดมการณ์ PRIDI Talks #16: 90 ปี แห่งการอภิวัฒน์สยาม “อุดมการณ์เพื่อชาติและราษฎรไทย”
เกร็ดประวัติศาสตร์
31
มีนาคม
2565
'สุภา ศิริมานนท์' เล่าถึง เหตุปัจจัยที่ทำให้เกิดความเลื่อมใส 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' ตั้งแต่ที่ตนเองอายุเพิ่งจะ 10 กว่าขวบ จนเมื่อผ่านกาลเวลาและได้มีโอกาสก้าวเข้ามาสู่วงการนักหนังสือพิมพ์ สุภาในฐานะของลูกศิษย์ ยกย่องกุหลาบด้วยความเคารพและเชิดชู ในฐานะของ "ครู" ผู้สอนสั่งความเป็นนักหนังสือพิมพ์
เกร็ดประวัติศาสตร์
25
พฤศจิกายน
2564
การเกิดขึ้นของคณะสุภาพบุรุษคือหนึ่งในความใฝ่ฝัน ความปรารถนาของคนกลุ่มหนึ่งในสังคมสยามที่มุ่งหวังจะเห็นความเปลี่ยนแปลงไปสู่สังคมแห่งเสรีภาพและความเสมอภาค
แนวคิด-ปรัชญา
19
พฤศจิกายน
2564
“ศรีบูรพา” เขียน แลไปข้างหน้า ภาคปฐมวัย เมื่อ พ.ศ. ๒๔๙๘ ขณะถูกจำคุกเนื่องจากกบฏสันติภาพ
แนวคิด-ปรัชญา
14
ตุลาคม
2564
ความทรงจำดังกล่าวเป็นผลมาจากการจำกัดการรับรู้ข้อมูลข่าวสารในระบอบเผด็จการทหารซึ่งผูกขาดช่องทางการสื่อสารและปกครองประเทศด้วยการปิดกั้นเสรีภาพมาอย่างยาวนาน
เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กรกฎาคม
2564
อาจก่อความแปลกใจให้แก่คุณผู้อ่านไม่น้อยทีเดียวว่า “พระยาพหลพลพยุหเสนา” (พจน์ พหลโยธิน) ผู้นำคณะราษฎรสายทหารที่ร่วมก่อการเปลี่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475
ชีวิต-ครอบครัว
17
กรกฎาคม
2563
ประวัติ วาณีเป็นน้องคนสุดท้องของครอบครัว เกิดเมื่อวันที่ 16 กรกฎาคม 2484 ที่บ้านป้อมเพชรนิคม หลังจากเกิดได้ไม่กี่เดือน สงครามโลกครั้งที่ 2 ก็แผ่มาถึงประเทศไทย สภาผู้แทนราษฎรได้ปรึกษาหารือกันแล้วลงมติตั้งคุณพ่อเป็นผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ในสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวอานันทมหิดล ครอบครัวจึงย้ายไปพำนักที่ทำเนียบท่าช้างซึ่งทางราชการจัดให้ ในขั้นต้น วาณีเรียนที่โรงเรียนดรุโณทยานของคุณครูฉลบชลัยย์ พลางกูร และโรงเรียนเซนต์โยเซฟคอนแวนต์
Subscribe to ศรีบูรพา