สงครามโลกครั้งที่ 2
บทความ • บทบาท-ผลงาน
25
มกราคม
2566
เรื่องราวของประเทศไทยในช่วงภาวะการประกาศสงครามของรัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม โดยผู้เขียนได้หยิบยกหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่แสดงให้เห็นถึงความผิดอันร้ายแรงในการที่รัฐบาลจอมพล ป. พิบูลสงคราม ประกาศสงครามอันเป็นสิ่งที่ละเมิดต่ออำนาจนิติรัฐภายในประเทศ
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
22
มกราคม
2566
อาชญาสิทธิ์ ศรีสุวรรณ เขียนถึงนายปรีดี พนมยงค์กับความเป็นมาของสูทสีกรมท่าตัวโปรดอันเป็นภาพคุ้นตาตามที่ได้ถูกบันทึกไว้ในขณะที่นายปรีดีใช้ชีวิตและลี้ภัยทางการเมือง ณ ต่างแดน นอกจากนี้ยังได้บอกเล่าพัฒนาการโดยย่อของประวัติศาสตร์เครื่องแต่งกายที่เกิดขึ้นในโลกตะวันตก ราวต้นศตวรรษที่ 19 ซึ่งถือเป็นจุดกำเนิดของแฟชั่นชุดสูทแบบสากล
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
21
มกราคม
2566
"ลุงโฮ" บอกเล่าเรื่องราวชีวประวัติในช่วงปฐมวัย อันเป็นชีวิตที่แวดล้อมไปด้วยปัจจัยรอบด้าน ทั้งสภาพสังคมที่แร้นแค้น ประกอบกับการขูดรีดทางชนชั้นจากเจ้าอาณานิคมที่เกิดขึ้นอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน ทำให้โฮจิมินห์เติบโตขึ้นมาท่ามกลางครอบครัวที่ต้องต่อสู้เพื่อความยุติธรรมในสังคม สิ่งต่างๆ นานัปการได้จุดประกายให้เด็กชายผู้นี้บ่มเพาะเจตนารมณ์ที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลงในสังคม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มกราคม
2566
รวินทร์ คำโพธิ์ทอง เขียนถึงศาตราจารย์ดิเรก ชัยนาม เนื่องในวาระ 118 ปี ชาตกาล 18 มกราคม 2566 โดยกล่าวถึงชีวประวัติย่อและการทำงาน รวมไปถึงบทบาททางการเมืองเมื่อครั้งสงครามโลกครั้งที่ 2 และการดำเนินงานในกิจการเสรีไทย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
29
ธันวาคม
2565
เหตุการณ์เมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ยังพื้นที่อำเภอแม่สอด จังหวัดตาก ในทศวรรษ 2480 ผ่านบันทึกความทรงจำของ 'นายสวงษ์ เสมดี' ศึกษาธิการประจำอำเภอแม่สอด ซึ่งปรากฏภาพบรรยากาศภายในจังหวัดตากที่สะท้อนถึงการเคลื่อนไหวและพลวัตทางสังคม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
20
ธันวาคม
2565
เมื่อสิ้นสุดสงคราม ปรีดี พนมยงค์ได้สถาปนาพระเกียรติของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าฯ ให้คืนคงเป็นพระมหากษัตริย์ของประเทศไทยอย่างเต็มที่ ดังปรากฏในลายพระหัตถ์ของหม่อมเจ้าศุภสวัสดิ์ฯ และพระกระแสรับสั่งของสมเด็จพระนางเจ้ารำไพพรรณี
บทความ • บทสัมภาษณ์
8
ธันวาคม
2565
สถาบันปรีดี พนมยงค์ ชวนคุยกับ 'คุณไกรศรี ตุลารักษ์' วีรชนแห่งขบวนการเสรีไทย อีกทั้งยังเป็นทายาทของ 'คุณสงวน ตุลารักษ์' หนึ่งในผู้ร่วมก่อการอภิวัฒน์สยาม 2475 และบุคคลใกล้ชิดของ 'นายปรีดี พนมยงค์' รวมไปถึงคราวเมื่อสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งได้เป็นผู้ร่วมชะตาเดียวกันกับขบวนการเสรีไทย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
ธันวาคม
2565
เนื่องในวาระ 113 ปี ชาตกาล 'นายเตียง ศิริขันธ์' ขุนพลแห่งภูพานผู้ยิ่งใหญ่ และนักประชาธิปไตยผู้ต่อต้านเผด็จการ
ผู้เขียนบอกเล่าถึงชีวประวัติย่อของ 'นายเตียง ศิริขันธ์' รวมไปถึงอิทธิพลความคิดทางการเมืองที่กรุยทางไปสู่การเคลื่อนไหวต่อต้านระบอบเผด็จการ และปฏิบัติการขบวนการเสรีไทยในภาคอีสาน
บทความ • บทบาท-ผลงาน
29
พฤศจิกายน
2565
ห้วงยามอันสำคัญเมื่อครั้งสงครามโลกครั้งที่ 2 ได้กลายเป็นเรื่องราวที่ควรจารึกไว้ถึงภารกิจที่นำไปสู่สันติภาพของขบวนการเสรีไทย อีกทั้งยังได้ก่อเกิดประวัติศาสตร์ของภูมิภาคและท้องถิ่นในหลายจังหวัด ดั่งเช่นอนุสรณ์แห่งความทรงจำ "ถนนเสรีไทย" ณ จังหวัดตาก เพื่อเป็นเกียรติแด่วีรชนและเล่าขานความหาญกล้าไปยังอนุชนรุ่นหลังสืบต่อไป
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
Subscribe to สงครามโลกครั้งที่ 2
11
พฤศจิกายน
2565
ดร.ปรีดี พนมยงค์ ได้พำนักอยู่ในกรุงปักกิ่งประเทศจีนในฐานะเป็น “แขกของรัฐบาล” โดยรัฐบาลจีนออกค่าใช้จ่ายในการดำรงชีวิตให้ทุกประการ บ้านที่พักเป็นบ้านเลขที่ 25 ตรอกเสี่ยวหยางเหมา คนไทยร่วมอาศัยอยู่ด้วยหลายคน คือ ร.อ.วัชรชัย ชัยสิทธิเวช, นายสงวน ตุลารักษ์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปักกิ่ง, ร.ต.ต.สมจิตร สุวรรณวัฒนา, นางนงเยาว์ ประภาสถิตย์, ร.ต.อ.สมศักดิ์ พัวเวช, ส.ต.ต.ชม แสงเงิน และ ร.ต.อ.เฉียบ ชัยสงค์ (อัมพุนันท์) และนับเป็นการลี้ภัยการเมืองครั้งที่ 3 ของท่าน คงจำได้ว่า การลี้ภัยครั้งแรก คือ เมื่อพระยามโนปกรณ์นิติธาดาปิดสภา ครั้งที่สอง เมื่