ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงครามโลกครั้งที่ 2

บทสัมภาษณ์
29
กุมภาพันธ์
2567
เนื่องในโอกาสครบรอบ 129 ปีชาตกาล หม่อมเจ้าพูนพิศมัย ดิศกุล ผู้เป็นพระราชธิดาของสมเด็จพระยาดำรงราชานุภาพ ที่ได้ผ่านเหตุการณ์สำคัญมากมาย ที่ทำให้ชีวิตต้องพลิกผลันและได้พบกับท่านปรีดี พนมยงค์ จนนำไปสู่การสร้างหอสมุดดำรงราชานุภาพ
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มกราคม
2567
เนื่องในวาระครบรอบ 119 ปี ชาตกาล 'ศาสตราจารย์ดิเรก ชัยนาม' จึงจะขอนำเสนอผลงานและแนวคิดสำคัญในแต่ละช่วงชีวิตดังต่อไปนี้ และไม่ค่อยมีการกล่าวถึงมาก่อน อาทิ ข้อเสนอระงับกรณีพิพาทระหว่างไทยกับฝรั่งเศสในรายงานการประชุมร่วมกันของรัฐสภา ครั้งที่ 6 วันที่ 14 ตุลาคม พุทธศักราช 2489 บทบาทในการก่อตั้งคณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และดำรงตำแหน่งคณบดีคนแรก พ.ศ. 2492 และปาฐกถาพุทธศาสนากับการปกครอง พ.ศ. 2499
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
ธันวาคม
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เล็กน้อย ณ ห้วงยามที่กองกำลังญี่ปุ่นกำลังคืบคลานเข้าสู่คาบสมุทรมลายู ถึงบทบาทของคุณวิลาศ โอสถานนท์ในฐานะอธิบดีกรมโฆษณาการ นำเสนอในที่ประชุมประชุมคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 7 และ 8 ธันวาคม 2484
เกร็ดประวัติศาสตร์
7
พฤศจิกายน
2566
เกร็ดทางประวัติศาสตร์เหตุใดจึงเรียกขานชื่อวิลาศ โอสถานนท์ว่า “เหล็กฝรั่งแห่งการเมืองไทย” “ลูกชายเจ้าเมือง” หรือชื่อที่ว่า “ลูกเขยนักหนังสือพิมพ์ชาวจีน” และปาฐกถาว่าด้วยภัยทางอากาศ ซึ่งร้อยเรียงผ่านเรื่องราวชีวิตของท่าน
แนวคิด-ปรัชญา
3
พฤศจิกายน
2566
จากปัจจัยสำคัญที่ทำให้ญี่ปุ่นและเยอรมนีประสบความสำเร็จนี้ นับเป็นสิ่งที่ประเทศไทยสามารถเรียนรู้จากประสบการณ์ของญี่ปุ่นและเยอรมนีเพื่อพัฒนาเศรษฐกิจให้เจริญรุ่งเรืองได้
ศิลปะ-วัฒนธรรม
12
ตุลาคม
2566
ประวัติความเป็นมา บทสัมภาษณ์ และบทวิจารณ์ความเห็นที่มีต่อละครเพลง “WATERFALL A New Musical” รวมไปถึงบทส่งต่อถึงเยาวชนและผู้คนที่สนใจในโลกแห่งละครเวทีถึงวงการละครเวทีของไทยว่าจะพัฒนาและเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางใดได้บ้าง
บทบาท-ผลงาน
29
กันยายน
2566
ภายหลังการอภิวัฒน์สยาม 2475 หนึ่งปีได้เกิดการรัฐประหารครั้งแรกเป็นเหตุให้นายปรีดี พนมยงค์ต้องลี้ภัยทางการเมืองเมื่อวันที่ 12 เมษายน 2476 โดยในปีเดียวกันนั้นวันที่ 29 กันยายน 2476 นายปรีดี พนมยงค์ก็ได้เดินทางหวนกลับสู่บ้านเกิดอีกครั้ง
แนวคิด-ปรัชญา
5
กันยายน
2566
บทความชิ้นนี้นำเสนอถึงความคิดและทัศนะของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ที่ยังคงต่อการศึกษาในทางวิทยาศาสตร์และในทางสงคราม และการรับรู้ของรัฐบาลไทยและการจัดการในด้านพลังงานนิวเคลียร์
บทบาท-ผลงาน
4
กันยายน
2566
ดร.ผุสดี ตามไท นำเกร็ดทางประวัติศาสตร์ที่สะท้อนถึงความเป็นมนุษย์ที่แม้ว่าจะดำรงอยู่ในสภาวะสงครามที่มีความยากลำบากและอุปสรรคนานับประการ แต่ยังคงปรากฏความอาทรระหว่างกัน
24
สิงหาคม
2566
ประเทศไทยจำเป็นต้องแสดงบทบาท เป็นผู้สร้างสรรค์เพื่อความก้าวหน้าต่อการสร้างสันติธรรมประชาธิปไตยให้นานาประเทศสามารถยึดถือเป็นแบบอย่าง โดย ‘รศ.ดร.อนุสรณ์ ธรรมใจ’ ได้เสนอแบบอย่างที่ประเทศไทยสมควรกระทำทั้งสิ้น 8 ประการ
Subscribe to สงครามโลกครั้งที่ 2