ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงครามโลกครั้งที่ 2

เกร็ดประวัติศาสตร์
6
พฤษภาคม
2566
สมรภูมิเดียนเบียนฟูยุทธภูมิสำคัญที่ชี้ชะตากรรมของชาติเวียดนาม กองกำลังเวียดมินห์เดินหมากอย่างมียุทธศาสตร์และกลยุทธ์ พร้อมกับได้รอบการสนับสนุนจากประเทศอื่นๆ รวมไปถึงชาวพื้นเมืองในเขตพื้นที่ดังกล่าว จนสามารถปักธงแห่งชัยชนะได้สำเร็จ กระทั่งนำไปสู่การประชุมเจนีวา ณ ประเทศสวิตเซอร์แลนด์ เพื่อหาข้อสรุปยุติความขัดแย้งและฟื้นคืนสันติภาพให้แก่ประเทศในอินโดจีน
ศิลปะ-วัฒนธรรม
17
เมษายน
2566
บอกเล่าบรรยากาศและสาระจากงานฉลองครบรอบ 90 ปีที่เวียนมาบรรจบของ 'ส. ศิวรักษ์' ปัญญาชนสยาม อันเป็นชีวิตที่มีโลกทัศน์ดำเนินไปพร้อมกับพลวัตทางสังคม ก่อร่างสร้างตัวตนให้บุรุษผู้นี้มีจุดยืนความคิดเป็นของตนเองมาตลอด 9 ทศวรรษที่ไหลเวียนอยู่ในสายธารของประวัติศาสตร์การเมืองไทย
เกร็ดประวัติศาสตร์
16
เมษายน
2566
สถานการณ์ในปลายสงครามโลกครั้งที่ 2 อันเป็นช่วงเวลาที่อิทธิพลของฝ่ายอักษะเริ่มเพลี่ยงพล้ำต่อฝ่ายสัมพันธมิตร การทิ้งระเบิดที่ฮิโรชิมาและนางาซากิกรุยทางนำไปสู่การอภิวัฒน์และการประกาศเอกราชของเวียดนามในที่สุด
เกร็ดประวัติศาสตร์
8
เมษายน
2566
การเผชิญวิบากกรรมทางการเมืองอีกครั้งจากการถูกจับกุมโดยพรรคก๊กมินตั๋ง ทว่าขณะที่ถูกจองจำ โฮจิมินห์ก็ยังคงมีความหวังอยู่เสมอเพื่อภารกิจที่ตั้งเป้าหมายไว้ ทันทีที่เป็นอิสระ โฮจิมินห์จึงเริ่มบำรุงสุขภาพดูแลร่างกายที่ทรุดโทรม จากนั้นภารกิจกู้เอกราชก็ได้เปิดฉากขึ้น
บทบาท-ผลงาน
4
เมษายน
2566
อ่านใจความของมรดกแห่งยุคสมัยจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ในภาพยนตร์ "The King of The White Elephant" หรือ "พระเจ้าช้างเผือก" อีกหนึ่งหลักฐานทางประวัติศาสตร์ซึ่งพิสูจน์แนวคิดทางการเมืองและสังคมของนายปรีดีในวันที่สันติภาพแห้งเหือดไปจากโลกใบนี้
บทบาท-ผลงาน
2
เมษายน
2566
อ่านจุดเชื่อมโยงและความสัมพันธ์ระหว่าง 'กุหลาบ สายประดิษฐ์' และ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านข้อเขียนเรื่อง "รัฐบุรุษอาวุโสกลับคืนสู่มาตุภูมิ" และ "การลาออกของนายปรีดี" บทความของกุหลาบซึ่งได้ตีพิมพ์ไว้เมื่อปี พ.ศ. 2490
แนวคิด-ปรัชญา
30
มีนาคม
2566
อ่านฐานคิดว่าด้วยแบ่งเขตในสนามการเลือกตั้งของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านจดหมายถึง 'นายสุกิจ นิมมานเหมินท์' พื่อชวนพิจารณาข้อดีและข้อด้อยผ่านการวิเคราะห์เชิงสถิติอย่างเป็นวิทยาศาสตร์ เพื่อให้การลงคะแนนเสียงในการเลือกตั้งสะท้อนตามเจตนารมณ์ตามจริงของราษฎรไทย โดยมีกฎกติกาและหลักการที่เป็นธรรมในขั้นตอนการแบ่งเขตการเลือกตั้ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
18
มีนาคม
2566
เรื่องราวการเดินทางมุ่งหน้ากลับสู่บ้านเกิดเมืองนอนของโฮจิมินห์ พร้อมทั้งสถานการณ์ที่ต้องเผชิญหน้าทั้งเจ้าอาณานิคมเดิมคือฝรั่งเศส และผู้รุกรานใหม่อย่างญี่ปุ่นในช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ซึ่งนำไปสู่การจัดตั้งแนวร่วมพันธมิตรเพื่อเอกราชของเวียดนาม หรือ "เวียดมินห์"
แนวคิด-ปรัชญา
23
กุมภาพันธ์
2566
สุรชาติ บำรุงสุข ชวนค้นหานิยามของการรัฐประหาร พร้อมสำรวจปัจจัยรอบด้านที่มีอิทธิพล อันนำไปสู่การเปิดโอกาสให้เหล่านักรัฐประหารมักใช้เป็นข้ออ้างและเครื่องมือในภารกิจเข้าแทรกแซงทางการเมือง นอกจากนี้ยังชี้ให้เห็นว่าองคาพยพสำคัญใดบ้างที่จำแลงกายเป็นสะพานหรือแขนขาให้แก่ทรราชขับรถถังออกมาแย่งชิงอำนาจของประชาชน
บทบาท-ผลงาน
16
กุมภาพันธ์
2566
แนวคิดการขุด "คอคอดกระ" หรือที่ประชาชนชาวไทยในปัจจุบันรู้จักในนาม "คลองไทย" ของ 'นายปรีดี พนมยงค์' เมื่อครั้งรั้งดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย ในรัฐบาลพระยาพหลพลพยุหเสนา เมื่อปี พ.ศ. 2478 โดยผู้เขียนยังได้ยกเอาข้อเขียนของนายปรีดีซึ่งแสดงทัศนะต่อการขุดคลองคอคอดกระไว้ในต้นทศวรรษ 2500
Subscribe to สงครามโลกครั้งที่ 2