ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สงครามโลกครั้งที่ 2

เกร็ดประวัติศาสตร์
4
พฤษภาคม
2568
นายปรีดี พนมยงค์ ได้ช่วยให้พระประศาสน์พิทยายุทธ พ้นจากความขัดแย้งทางการเมืองด้วยการผลักดันให้ดำรงตำแหน่งอัครราชทูตไทยประจำกรุงเบอร์ลินและช่วยเหลือบุตรชาย ในยามลำบาก
เกร็ดประวัติศาสตร์
2
พฤษภาคม
2568
รัฐบาลไทยประกาศนโยบายรักษาความเป็นกลางและไม่ฝักใฝ่ฝ่ายใด พร้อมยืนยันเอกราชของชาติเป็นสิ่งศักดิ์สิทธิ์ และพยายามรักษาความสัมพันธ์แบบเป็นมิตรทั้งกับญี่ปุ่นและอังกฤษ ในสถานการณ์สงครามที่ตึงเครียดยิ่งขึ้น
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
พฤษภาคม
2568
หลวงสุขุมนัยประดิษฐคือหนึ่งในผู้มีบทบาทสำคัญในขบวนการเสรีไทย ในฐานะอดีตนักเรียนสหรัฐฯ การปฏิบัติภารกิจทั้งในสงครามและการทูตของท่านมีส่วนช่วยให้ไทยรอดพ้นจากการถูกปฏิบัติในฐานะประเทศผู้แพ้สงคราม
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
เมษายน
2568
สถานการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 ในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ตึงเครียดมากขึ้น ในขณะเดียวกันรัฐบาลหลวงพิบูลสงครามมีความต้องการที่จะเรียกร้องดินแดนที่ไทยเคยสูญเสียให้แก่ฝรั่งเศสกลับคืนมาโดยเฉพาะฝั่งขวาของแม่น้ำโขง
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
เมษายน
2568
ศ. ดร. กนต์ธีร์ ศุภมงคล อธิบายถึงยุทธศาสตร์ “วิเทโศบายของไทย” ในช่วงวิกฤตการณ์สงครามโลกครั้งที่ 2 ที่ต้องการรักษาสันติภาพและความเป็นกลาง ตลอดจนการรักษาอธิปไตยของประเทศ ไม่ให้ตกอยู่ภายใต้อิทธิพลของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งจนกระทบต่อเอกราช
แนวคิด-ปรัชญา
25
เมษายน
2568
ศ. ดร.กนต์ธีร์ ศุภมงคล อธิบายถึงการเกิดขึ้นของสงครามโลกครั้งที่สองโดยเน้นไปที่การก่อสงครามขยายตัวของญี่ปุ่นอันเป็นผลมาจากปัจจัยทางสังคม และ เศรษฐกิจ รวมไปถึงการเปิดฉากโจมตีสหรัฐอเมริกาและเข้าร่วมสงครามกับฝ่ายสัมพันธมิตร
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
เมษายน
2568
ดิเรก ชัยนาม มีทั้งความสุภาพเรียบร้อย ความรู้ความสามารถ และความเสียสละเพื่อชาติ โดยเฉพาะบทบาทในช่วงเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 กับคณะราษฎรและสงครามโลกครั้งที่ 2 กับขบวนการเสรีไทย ที่คุณดิเรกเข้าร่วมอย่างกล้าหาญ เสี่ยงชีวิตเพื่อประเทศชาติ
แนวคิด-ปรัชญา
3
เมษายน
2568
ปรีดี พนมยงค์ กับแนวคิดสวัสดิการสังคมและความเหลื่อมล้ำ โดยบทความนี้ชี้ให้เห็นถึงรากฐานทางความคิดของปรีดี พนมยงค์ ที่นำไปสู่แนวคิดความเท่าเทียมทางเศรษฐกิจของประชาชนภายในประเทศสยาม ที่ทุกคนจะในประเทศจะได้รับสวัสดิการที่เท่าเทียมกันไม่ใช่เฉพาะกลุ่มบุคคลใดบุคคลหนึ่ง
เกร็ดประวัติศาสตร์
28
มีนาคม
2568
ไทยสามารถรอดพ้นจากสถานะประเทศผู้แพ้สงครามด้วยยุทธศาสตร์ทางการเมืองและการทูตอันซับซ้อน ผ่านบทบาทของขบวนการเสรีไทย และการใช้ประโยชน์จากดุลอำนาจระหว่างประเทศโดยเฉพาะความขัดแย้งระหว่างอังกฤษกับสหรัฐอเมริกา
เกร็ดประวัติศาสตร์
24
มีนาคม
2568
ป๋วย อึ๊งภากรณ์ บันทึกถึงเสรีไทยสายอังกฤษที่ยึดมั่นในสันติภาพ และได้เข้าร่วมกับกองทัพอังกฤษเพื่อกู้ชาติโดยเป็นพลทหารในหน่วย Pioneer Corps (หน่วยเสรีไทยสายอังกฤษ)จนได้รับความไว้วางใจจากกองทัพอังกฤษและพันธกิจสำเร็จ
Subscribe to สงครามโลกครั้งที่ 2