ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สิทธิมนุษยชน

ศิลปะ-วัฒนธรรม
21
กันยายน
2566
การจัดงานรณรงค์และเฉลิมฉลองวันชนเผ่าพื้นเมืองแห่งประเทศไทย ประจำปี 2566 เป็นวันเดียวที่จัดร่วมกันไปกับวันสากลชนเผ่าพื้นเมืองโลก (International Day of the World's Indigenous Peoples) ดังที่สหประชาชาติให้ความสำคัญ โดยมีขึ้นในวันพุธที่ 9 สิงหาคม 2566 ณ อาคารหอประชุมศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร กรุงเทพมหานคร ในหัวข้อ “พลังเยาวชนชนเผ่าพื้นเมือง ร่วมสร้างสรรค์สังคมสู่การเปลี่ยนแปลง”
แนวคิด-ปรัชญา
30
สิงหาคม
2566
ข้อเสนอ ข้อสังเกต และบทบาทอาเซียนในการเสริมสร้างสันติภาพในเมียนมา รวมไปถึงบทบาทของรัฐบาลไทย จากคำถามของผู้ฟังและผู้รับชมการถ่ายทอดสด และตอบโดยวิทยากรร่วมเสวนา
แนวคิด-ปรัชญา
28
สิงหาคม
2566
อาเซียนยังไม่ได้สิ้นไรไม้ตอก อาเซียนยังคงมีแต้มต่ออย่างที่เคยใช้ในกรณีของความขัดแย้งในประเทศกัมพูชา เรื่องสมาชิกภาพในการขู่ เช่นเดียวกัน สามารถนำเรื่องแต้มต่อนี้ในการขับพม่าออกจากสมาชิกภาพอาเซียนนี้จากการประเทศพม่าไม่รักษาคำสัญญาที่ให้ไว้กับอาเซียนในหลายๆ กรณีที่เกิดขึ้น
แนวคิด-ปรัชญา
27
สิงหาคม
2566
บทบาทของผู้หญิงสะท้อนให้เห็นถึงปัญหาความไม่เท่าเทียมและเสมอภาคกัน ไม่ใช่แค่เพียงแต่ปัญหาเรื่องประชาธิปไตยเท่านั้น หากแต่ยังรวมไปถึงปัญหาเรื่องความไม่เท่าเทียมทางเพศ การเลือกปฏิบัติ ตลอดจนการละเมิดสิทธิมนุษยชนขั้นร้ายแรง
แนวคิด-ปรัชญา
25
สิงหาคม
2566
ข้อเสนอที่สำคัญบางประการต่อบทบาทของรัฐบาลไทยที่มีต่อสถานการณ์ฉุกเฉินของประเทศเมียนมาในปัจจุบัน ข้อเสนอแรกคือ การเปลี่ยนกระบวนทัศนทางด้านการทูต ข้อเสนอที่สองคือ การเตรียมความพร้อมในการเข้าไปช่วยเหลือด้านมนุษยธรรม และเสนอให้รัฐบาลไทยเป็นผู้นำการจัดการเชิญประชุมผู้แทนประเทศชายแดนที่เกี่ยวข้อง
แนวคิด-ปรัชญา
6
สิงหาคม
2566
หัวใจสำคัญของประชาธิปไตยคือประชาชน การให้การศึกษาเรื่องประชาธิปไตยแก่ประชาชนจึงเป็นเรื่องที่ขาดไม่ได้ เช่นเดียวกัน การพัฒนาประชาธิปไตยก็มีหลักสำคัญอยู่ที่การพัฒนาคน
แนวคิด-ปรัชญา
3
พฤษภาคม
2566
3 ทศวรรษแห่ง "วันเสรีภาพสื่อมวลชนโลก" (3 พฤษภาคม) ชวนทบทวนสำคัญในการทำงานของคนทำสื่อท่ามกลางวิกฤติหรือความเปลี่ยนแปลงทางสังคม พร้อมถอดรหัสท่าทีและความเคลื่อนไหวในแวดวงสื่อมวลชนของไทย ภายใต้ภูมิทัศน์ทางการเมืองที่แปรเปลี่ยนไปตามพลวัต เพื่อทบทวนการทำหน้าที่ของสื่อมวลชนด้วยหลักการของระบอบประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
12
มีนาคม
2566
19 ปี การบังคับสูญหาย สมชาย นีละไพจิตร กับการเดินทางของ พ.ร.บ.ป้องกันและปราบปรามการทรมานและการกระทำให้บุคคลสูญหาย พ.ศ. 2565 ตลอดจนความเปลี่ยนแปลงในระบบยุติธรรมและสังคมที่รอวันมาถึง
แนวคิด-ปรัชญา
8
มีนาคม
2566
การเดินทางเพื่อความเสมอภาคของสิทธิสตรี ซึ่งพวกเธอต้องเผชิญหน้าต่อปัญหาเชิงโครงสร้างทั้งในทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม โดยมีเหตุปัจจัยมาจากฐานคิดความไม่เท่าเทียมทางเพศ อาทิ ความรุนแรงทางเพศ อนามัยเจริญพันธุ์ สิทธิทางการเมือง ฯลฯ
แนวคิด-ปรัชญา
8
มกราคม
2566
ความเท่าเทียมที่รอวันมาถึงแก่ผู้มีความหลากหลายทางเพศ ในฐานะสิทธิพึงมีและสิทธิมนุษยชนขั้นพื้นฐาน รวมทั้งบอกเล่าการละเมิดสิทธิมนุษยชนและอุปสรรคที่เกิดขึ้นต่อกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศ อันเป็นอาชญากรรมที่เกิดจากการเกลียดชัง พร้อมทั้งตอบคำถามเพื่อสร้างความเข้าใจและขจัดอคติดังกล่าว เพื่อนำไปสู่ความเสมอภาคแก่มนุษย์ทุกคน
Subscribe to สิทธิมนุษยชน