ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

สิทธิมนุษยชน

แนวคิด-ปรัชญา
19
กันยายน
2565
ความสำเร็จของการรัฐประหารกันยายน 2549 เป็นตัวอย่าง อันดีที่พิสูจน์ให้เห็นถึงความเปราะบางของระบอบการเมืองไทย
แนวคิด-ปรัชญา
22
สิงหาคม
2565
'รัศม์ ชาลีจันทร์' กล่าวถึงการวางรากฐานแนวคิดสันติภาพของ 'นายปรีดี พนมยงค์' ผ่านนโยบายการต่างประเทศ ซึ่งถือเป็นคุณูปการที่สืบเนื่องนับตั้งแต่การอภิวัฒน์สยาม 2475
แนวคิด-ปรัชญา
2
ตุลาคม
2564
การบังคับสูญหายสมชาย นีละไพจิตร เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2547 ได้เปลี่ยนเรื่องราวการบังคับสูญหายในประเทศไทยให้เป็นที่รับรู้ไปทั่วโลก
เกร็ดประวัติศาสตร์
27
กันยายน
2564
ย้อนกลับไปในช่วงก่อน 6 ตุลาคม 2519 นอกเหนือไปจากขบวนการนิสิต-นักศึกษาแล้ว กลุ่มบุคคลอีกกลุ่มหนึ่งที่มีความสำคัญก็คือ “กลุ่มผู้ใช้แรงงาน” ในนามของ สภาแรงงานแห่งประเทศไทย
แนวคิด-ปรัชญา
23
กันยายน
2564
ด้วยเหตุที่การยอมรับศักดิ์ศรีแต่กำเนิด และสิทธิซึ่งเสมอกันและไม่อาจโอนแก่กันได้ ของสมาชิกทั้งปวงแห่งครอบครัวมนุษยชาติอันเป็นรากฐานของเสรีภาพ ความยุติธรรม และสันติภาพในโลก
แนวคิด-ปรัชญา
22
กันยายน
2564
คำว่า “รัฐธรรมนูญ” ประกอบด้วยคำว่า “รัฐ” หมายถึง บ้านเมืองหรือแผ่นดินกับคำว่า “ธรรมนูญ” หมายถึง บทกฎหมายว่าด้วยระเบียบการ
แนวคิด-ปรัชญา
15
กันยายน
2564
ประวัติศาสตร์สากลแสดงให้เราเห็นว่า ประเทศส่วนใหญ่ของโลก ก็ได้เคยมีระบอบประชาธิปไตยแตกหน่อขึ้นแล้ว แต่มาสูญหายไปชั่วคราวหลังสมัยกรีกและโรมันล่มสลาย ภายใต้ยุคมืดของยุโรป
บทบาท-ผลงาน
14
กันยายน
2564
ในการที่จะพิสูจน์ว่ารัฐธรรมนูญเป็นประชาธิปไตยหรือไม่ หากในรายละเอียดว่าถือมติปวงชนเป็นใหญ่และให้สิทธิของมนุษยชนแก่ประชาชน รัฐธรรมนูญฉบับนั้นนับว่าเป็นประชาธิปไตย
แนวคิด-ปรัชญา
11
กันยายน
2564
หลังการประกาศเลิกทาสในดินแดนอาณานิคมฝรั่งเศสทั้งหมด เดือนกุมภาพันธ์ปีเดียวกัน มีถ้อยคำระบุว่า “มนุษย์เกิดมาเท่าเทียมกัน การเกิดไม่ได้ทำให้คุณค่าของมนุษย์แตกต่างกัน” ซึ่งเป็นหนึ่งในหลักการของคำประกาศว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและพลเมือง 1789
แนวคิด-ปรัชญา
8
กันยายน
2564
ในแง่นี้จะว่าไทยรับความสำเร็จจากการเรียนรู้ในเมืองฝรั่งก็คงได้ แต่พอสถานประมาณโดยเราเข้าใจฝรั่งอย่างแตกฉานหรือไม่ น่าสงสัย
Subscribe to สิทธิมนุษยชน