ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เค้าโครงการเศรษฐกิจ

แนวคิด-ปรัชญา
6
กันยายน
2563
ความคิดทางเศรษฐกิจของท่านปรีดีนั้นมีลักษณะล้ำสมัยเมื่อเปรียบเทียบกับบรรดาผู้คนในยุคของท่าน ความคิดของท่านหลายประการจึงได้รับปฏิบัติในภายหลัง และความคิดบางประการ ได้รับการต่อต้านในการนําเสนอในช่วงแรก  สิ่งที่สะท้อนความคิดทางเศรษฐกิจของรัฐบุรุษอาวุโสได้อย่างเป็นระบบมากที่สุด คือ เค้าโครงเศรษฐกิจ หรือที่เรารู้จักกันดีในนาม สมุดปกเหลืองของหลวงประดิษฐ์มนูธรรม นั่นเอง 
บทบาท-ผลงาน
5
กันยายน
2563
บันทึกความทรงจำของศาสตราจารย์ ดร.วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร ราชบัณฑิต ผู้เป็นหลานชายของนายปรีดี พนมยงค์ กล่าวถึงชีวิตธรรมดาของนายปรีดีในความทรงจำวัยเด็ก และประเมินความล้มเหลวผิดพลาดของนายปรีดีไว้ได้อย่างน่าสนใจ
บทบาท-ผลงาน
27
กรกฎาคม
2563
ความคิดของอาจารย์ปรีดีได้ก่อประโยชน์ให้แก่บ้านเมืองหลายด้านหลายสาขา แม้ความคิดบางอย่างไม่ได้รับการสนองตอบในขณะนั้น ก็มีอิทธิพลกระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในระยะต่อมา ยิ่งกว่านั้นประเทศไทยจะจารึกผลงานของท่านในฐานนักคิดนักปฏิรูปสังคม
ศิลปะ-วัฒนธรรม
25
กรกฎาคม
2563
ลมเอยช่วยพัดสายธาร พาเอาอังคาร กระจายความคิดอ่านกว้างไกล ลอยไปโอบเอื้อเพื่อไทย เกิดคลื่นลูกใหม่ เกิดความคิด กล้าทํา ให้กล้าเปลี่ยนแปลงกล้านํา กล้าสู้อธรรม เฉกเช่นบรรพบุรุษไทย ขอท่านคุ้มครองป้องภัย ให้ลูกหลานไทย ก้าวเดินจําเริญรอยตาม
บทสัมภาษณ์
22
กรกฎาคม
2563
ในปี 2527 กองบรรณาธิการมติมหาราษฎร์ได้สัมภาษณ์ ม.ร.ว.เสนีย์ ในหลายประเด็น ทั้งการชิงสุกก่อนห่ามของการเปลี่ยนแปลงการปกครอง 2475 ความเห็นต่อเค้าโครงการเศรษฐกิจ การเกิดกบฏบวรเดช การทำงานขบวนการเสรีไทย เกร็ดเรื่องการได้รับเชิญจากนายปรีดีให้มาเป็นนายกรัฐมนตรี กรณีสวรรคต รวมถึงความขัดแย้งกับนักการเมืองคนสำคัญของพรรคประชาธิปัตย์ อย่างนายควง อภัยวงศ์ และ ม.ร.ว.เสนีย์ เอง
แนวคิด-ปรัชญา
20
กรกฎาคม
2563
บทความล่าสุดของ 'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' ชิ้นนี้ เสนอแนวทางของการสืบสาน รักษา และต่อยอดอุดมการณ์ซึ่งปรีดีได้เคยคิดเอาไว้ในเค้าโครงการเศรษฐกิจ อันเป็นข้อเสนอเชิงนโยบายที่ยังคงมีประโยชน์ มีความสำคัญ และควรระลึกถึงไว้ในโลกอนาคตที่ความท้าทายใหม่ ๆ เกิดขึ้นเรื่อย ๆ
บทบาท-ผลงาน
8
กรกฎาคม
2563
'เขมภัทร ทฤษฎิคุณ' ตั้งข้อสังเกตถึงสาระสำคัญบางประการใน 'เค้าโครงการเศรษฐกิจ' ของปรีดี พนมยงค์ คือ เรื่องการกระจายอำนาจเพื่อเป็นฐานในทางเศรษฐกิจไปยังพื้นที่ชนบท และการสร้างระบบเศรษฐกิจความมั่นคงของชาติ
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
กรกฎาคม
2563
ในรอบศตวรรษที่ผ่านมา หากจะถามหาสามัญชนที่เป็นอัจฉริยะและรัตนบุรุษ ผู้สร้างคุณูปการต่อชาติและศาสนา ทั้งในฝ่ายฆราวาสและบรรพชิตแล้ว นายปรีดี พนมยงค์และท่านพุทธทาสภิกขุ ย่อมอยู่ในฐานะอันโดดเด่น ควรแก่การยกย่อมอย่างแท้จริง ทั้งความรู้ ความสามารถ ความเสียสละ ความสะอาดบริสุทธิ์ ความซื่อสัตย์สุจริตและความเห็นการณ์ไกล ซึ่งประวัติศาสตร์ชาติไทยจักต้องจารึกความสำคัญของท่านทั้งสองไว้นานเท่านาน
6
กรกฎาคม
2563
ผู้เขียน : วิชิตวงศ์ ณ ป้อมเพชร พิมพ์ที่ : เรือนแก้วการพิมพ์, กรุงเทพมหานคร พิมพ์ครั้งที่ : 2 ปีที่พิมพ์ : 2543 จำนวนหน้า : 35 หน้า
2
กรกฎาคม
2563
เมื่อวันที่ 24 มิถุนายน สถาบันปรีดี พนมยงค์ ร่วมกับคณะรัฐศาสตร์ ม.ธรรมศาสตร์ และมูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ จัดงาน “88 ปี 2475 ความทรงจำของสามัญชน” โดย นายอนุสรณ์ ธรรมใจ ประธานกรรมการบริหาร สถาบันปรีดี พนมยงค์ กล่าวเปิดงานเสวนาในหัวข้อ จากราชดำเนินถึง “2475: ความรู้ ความทรงจำและสถานการณ์ปัจจุบัน” ผ่านเพจสถาบันปรีดี พนมยงค์ และ ศูนย์วิจัยดิเรก ชัยนาม คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
Subscribe to เค้าโครงการเศรษฐกิจ