ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เค้าโครงการเศรษฐกิจ

แนวคิด-ปรัชญา
27
เมษายน
2564
เพื่อที่การประกอบเศรษฐกิจจะได้ดำเนินไปโดยเรียบร้อยและได้ผลดี รัฐบาลก็จำต้องวางแผนเศรษฐกิจแห่งชาติ การวางแผนเศรษฐกิจแห่งชาตินี้จะต้องคำนวณและสืบสวนเป็นลำดับดั่งต่อไปนี้
แนวคิด-ปรัชญา
23
เมษายน
2564
“การที่จะส่งเสริมให้ราษฎรได้มีความสุขสมบูรณ์นั้น ก็มีอยู่ทางเดียว ซึ่งรัฐบาลจะต้องเป็นผู้จัดการเศรษฐกิจเสียเอง โดยแบ่งการเศรษฐกิจนั้นออกเป็นสหกรณ์ต่างๆ” โดยให้รัฐเป็นผู้วางแผน ส่วนสหกรณ์มีหน้าที่ควบคุมการปฏิบัติงานและดำเนินการโดยสมาชิกในสหกรณ์นั้นๆ
บทบาท-ผลงาน
22
เมษายน
2564
นายปรีดี พนมยงค์ ได้ร่างแผนเศรษฐกิจแห่งชาติฉบับนี้ และ อธิบายแนวคิดและแนวทางของปัญหาที่เกิดขึ้น ณ สังคมไทยยุคนั้นอย่างละเอียด อย่างเช่นว่า หากเจ้าของที่ดินไม่ได้รับผลจากที่ดินเพียงพอ รัฐบาลจะยื่นมือเข้ามาช่วยเหลือด้วยวิธีใดได้บ้าง?
แนวคิด-ปรัชญา
21
เมษายน
2564
เค้าโครงการเศรษฐกิจเพื่อความสุขสมบูรณ์ของราษฎรไทย: เราทุกคนควรได้รับการประกันจากรัฐบาล
แนวคิด-ปรัชญา
20
เมษายน
2564
“รัฐสวัสดิการ” เป็นโจทย์สำคัญอย่างหนึ่งที่มีความสำคัญมาก จะเห็นกันได้ชัดเจนโดยเฉพาะในช่วงการแพร่ระบาดของโควิด-19 ระลอกและระลอกเล่า มีการตั้งคำถามถึงคุณภาพชีวิตของประชาชน และ ความไม่แน่นอนทางเศรษฐกิจที่เกิดขึ้นจากการระบาดของโรค
แนวคิด-ปรัชญา
9
เมษายน
2564
เมื่ออ่านเค้าโครงการเศรษฐกิจครั้งแรก มีความรู้สึกเหมือนกับว่าท่านอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ให้ความสำคัญกับการวางแผนเศรษฐกิจจากส่วนกลาง เมื่ออ่านครั้งต่อๆไปก็เริ่มเห็นความสำคัญของส่วนของชาวบ้าน ส่วนของท้องถิ่น ในเค้าโครงการฯ คือในตอนที่ว่าด้วยสหกรณ์
แนวคิด-ปรัชญา
8
เมษายน
2564
ในปัจจุบันสมัยนี้ ไม่ว่าในงานเอกชนหรืองานมหาชน หากรัฐจะประกอบกิจการอันใด ไม่ว่าเรื่องการศึกษา การป้องกันประเทศ รักษาทรัพยากรของชาติ การผังเมือง การผังชนบท การวางเส้นทางคมนาคม ถนนหนทาง การบุกเบิกป่าไม้งานต่างๆ ที่กรมกองต้องกระทำ รัฐผู้กระทำต้องวางแผน วางจุดหมายที่มุ่งให้บรรลุถึงวิธีการและเครื่องมือเครื่องใช้ดำเนินการเป็นขั้นๆ 
แนวคิด-ปรัชญา
22
มีนาคม
2564
ตลอดชีวิตของอาจารย์ปรีดี พนมยงค์ ได้ทำมาตลอดชีวิตของท่าน คือการสร้างประชาธิปไตยที่สมบูรณ์ให้กับชาติ “ประชาธิปไตยสมบูรณ์” นั้น หมายถึง ทั้งเรื่องของการเมือง เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม
แนวคิด-ปรัชญา
20
มีนาคม
2564
การสร้าง “ประชาธิปไตยสมบูรณ์” ตามแนวคิดของอาจารย์ปรีดี จึงจำเป็นต้องมีการออกแบบโครงสร้างและสถาบันทางการเมืองที่สอดคล้องเหมาะสมกับบริบทของสังคมไทย โดยมีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดของประเทศทั้งในทางนิตินัยและพฤตินัย และคุณค่าของรัฐธรรมนูญนั้นจะต้องมุ่งสถาปนาความเป็นเจ้าของอำนาจอธิปไตย สิทธิเสรีภาพ ความเสมอภาคของประชาชน
แนวคิด-ปรัชญา
19
มีนาคม
2564
สมัยที่ท่านอาจารย์ปรีดีย้ายจากเมืองจีนไปฝรั่งเศสนั้น ท่านก็ได้รับการต้อนรับจากนักเรียนไทยหลายคนทีเดียว และนักเรียนไทยที่อยู่ในอังกฤษ ฝรั่งเศส หรือเยอรมันก็ตาม ต่างก็ได้ตั้งคำถามกับท่านว่า “ไทยเรามีโอกาส มีทางที่จะได้ประชาธิปไตยโดยสันติวิธีหรือไม่ ?”
Subscribe to เค้าโครงการเศรษฐกิจ