มองย้อนอดีตไปเมื่อปี พ.ศ. 2492 เหตุการณ์ทางการเมืองหนึ่งได้ปรากฏขึ้นที่ประเทศไทยและถูกเรียกขานให้เกี่ยวโยงกับกรณีสังหารบุคคลสำคัญชาวพม่าผู้เป็นวีรบุรุษแห่งชาติ นั่นคือเหตุการณ์ ‘กบฏระบบสังหารอูอองซาน’
บทความ • บทบาท-ผลงาน
5
กุมภาพันธ์
2564
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ ได้บอกกับเราว่า "เพราะเหตุใดการขึ้นสู่อำนาจของคณะรัฐประหาร จึงก่อให้เกิดผลในการทำลายประชาธิปไตย และล้มล้างลัทธิธรรมนูญได้ถึงเพียงนี้"
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
4
กุมภาพันธ์
2564
รุ่งขึ้นของเหตุการณ์รัฐประหาร 2490 ได้มีการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ฉะบับชั่วคราว) พุทธศักราช 2490 ซึ่งเป็นรัฐธรรมนูญฉบับที่ 4 ของประเทศไทย
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
3
กุมภาพันธ์
2564
ผู้ก่อการรัฐประหารส่วนใหญ่เป็นนายทหารนอกประจำการ เริ่มแรกบรรดาผู้ก่อการต่างคนต่างคิดมีทั้งหมด 4 กลุ่ม แต่ละกลุ่มมีพวกพ้องของตนโดยเฉพาะที่ไม่เกี่ยวข้องกัน ซึ่งทั้ง หมดได้มาพบปะและรู้ความประสงค์ซึ่งกันและกัน โดยใช้วัตถุประสงค์ที่ร่วมกันร่างเป็น "ข้ออ้าง" ในการกระทำรัฐประหารในครานั้น
บทความ • บทสัมภาษณ์
2
กุมภาพันธ์
2564
ก่อนหน้าที่จะมีรัฐประหาร มีข่าวลือว่าจะเกิดปฏิวัติรัฐประหาร หนังสือพิมพ์ศรีกรุง ฉบับประจำวันที่ 28 พฤศจิกายน 2489 ลงข่าวว่ารัฐบาลสั่งเตรียมพร้อม เนื่องจากว่ามีข่าวเรื่องนายทหารชั้นประทวนคบคิดกันจะใช้กำลังล้มล้างรัฐบาลในเดือนกรกฎาคม 2490
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
3
มกราคม
2564
บางส่วนจากทัศนะของศาสตราจารย์พิเศษ ดร.ชาญวิทย์ เกษตรศิริ อดีตอธิการบดีมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่มีต่อท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
บทความ • แนวคิด-ปรัชญา
17
พฤศจิกายน
2563
เกษียร เตชะพีระ ทบทวนบริบทแห่งการสร้างความคิดทางการเมืองของนายปรีดีว่ามาจาก (1) ระบอบล่าอาณานิคม (2) ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และ (3) ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม ในห้วงเวลานั้น