ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

เสรีไทย

วันนี้ในอดีต
19
พฤศจิกายน
2567
108 ปี ชาตกาล ครูฉลบชลัยย์ พลางกูร ภริยาของนายจำกัด พลางกูร เสรีไทยคนสำคัญที่บอกเล่าเรื่องราวจากบันทึกความทรงจำ และความประทับใจที่มีต่อนายปรีดี และท่านผู้หญิงพูนศุข พนมยงค์
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
พฤศจิกายน
2567
ประวัติศาสตร์วัฒนธรรมของ จ. ลำปาง ในสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2 ที่สะท้อนให้เห็นชีวิตของผู้คนธรรมดา และปฎิบัติการเสรีไทยใน จ. ลำปาง ที่ใช้สถานที่ของโรงงานน้ำตาลเป็นฐานที่มั่น
วันนี้ในอดีต
3
พฤศจิกายน
2567
เนตร เขมะโยธิน เขียนถึงปฏิบัติการเสรีไทยในจีนของถวิล อุดล ผู้ที่ปรีดี พนมยงค์ มอบหมายภาระกิจส่งสารไปยังจีนในสมัยสงครามโลก ครั้งที่ 2
วันนี้ในอดีต
30
ตุลาคม
2567
110 ปี ชาตกาลของจำกัด พลางกูร เป็นปากคำประวัติศาสตร์ของฉลบชลัยย์ พลางกูร ภรรยาของจำกัด ที่บอกเล่าเรื่องราวชีวิต และการทำงานเสรีไทยของจำกัดอย่างละเอียด
วันนี้ในอดีต
19
ตุลาคม
2567
สะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างนายปรีดี พนมยงค์ และ ร.ท.อู๊ต นิตยสุทธิ ลูกศิษย์ผู้รักประชาธิปไตยที่มีบทบาทเพื่อชาติ และพิทักษ์ระบอบรัฐธรรมนูญในเหตุการณ์กบฏบวรเดช และขบวนการเสรีไทย รวมทั้งเพื่อระลึกถึงในวาระชาตกาล 122 ปี ร.ท. อู๊ต นิตยสุทธิ
17
สิงหาคม
2567
วันสันติภาพไทย ประจำปี 2567 ในภาคเช้ามีพิธีการรำลึกที่สวนประวัติศาสตร์ธรรมศาสตร์กับการต่อสู้เพื่อประชาธิปไตย โดยมีงานเสวนา 79 ปี วันสันติภาพ ถอดบทเรียน 2 ทศวรรษไฟใต้ : เพื่อเส้นทางสู่สันติภาพ ณ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ และภาคบ่ายมี PRIDI x BMA : 79 ปี วันสันติภาพไทย ที่หอศิลป์กรุงเทพฯ
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
สิงหาคม
2567
ข้อเขียนของนายปรีดี พนมยงค์ ที่เขียนถึงประวัติชีวิตนายซิม วีระไวทยะอย่างละเอียดในหนังสือที่พิมพ์แจกในงานพระราชทานเพลิงศพนายซิม วีระไวทยะ วัดมกุฏกษัตริยาราม เมื่อ พ.ศ. 2486 ซึ่งการเขียนเป็นแบบอักขรวิธีในยุคนั้น
แนวคิด-ปรัชญา
9
กรกฎาคม
2567
ตึกโดมเป็นอาคารหลังแรกของมหาวิทยาลัยวิชาธรรมศาสตร์และการเมือง และเป็นสัญลักษณ์สำคัญของมหาวิทยาลัยโดยมีการสันนิษฐานว่าหลักการในการออกแบบมาจากหลัก 6 ประการ และสะท้อนรูปแบบของศิลปะสมัยคณะราษฎร
บทบาท-ผลงาน
5
พฤษภาคม
2567
ปรีดี พนมยงค์ เป็นรัฐมนตรีต่างประเทศได้เจรจาเรียกร้องเอกราชและดินแดนคืนจากจักรวรรดินิยม เป็นรัฐมนตรีคลังปฏิรูปภาษีอากร จัดตั้งธนาคารแห่งประเทศไทย นำขบวนการเสรีไทยต่อต้านญี่ปุ่น ดำรงตำแหน่งผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์และนายกฯ หลังรัฐประหารลี้ภัย เรียกร้องประชาธิปไตย เป็นรัฐบุรุษอาวุโสและนักประชาธิปไตยสำคัญของไทย
9
กุมภาพันธ์
2567
มูลนิธิ - สถาบันปรีดี พนมยงค์ เข้าร่วมโครงการสร้างเครือข่ายความร่วมมือเกี่ยวกับขบวนการเสรีไทยและการรำลึกขบวนการเสรีไทย ประจำปี 2567 ณ ห้องประชุม ดร.สมสักดิ์ และคุณหญิงปัทมา สีสวัสดิ์ตระกูล (NIDA)
Subscribe to เสรีไทย