โฮจิมินห์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
มีนาคม
2566
โฮจิมินห์กลับเข้าศึกษาต่อ ณ กรุงมอสโก สหภาพโซเวียต พร้อมทั้งทำหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงให้กับสหายชาวเวียดนามคนอื่นๆ ที่กำลังศึกษาเช่นเดียวกัน ชัยชนะของพรรคคอมมิวนิสต์ฝรั่งเศส และผลของการสงบศึกชั่วคราวระหว่างพรรคคอมมิวนิสต์จีนกับก๊กมินตั๋ง เปิดโอกาสขยับย่นย่อให้การกอบกู้เอกราชของชาวเวียดนามเดินมาถึงในเร็ววัน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
5
มีนาคม
2566
การผนึกกำลังของพรรคคอมมิวนิสต์เวียดนามซึ่งมีแนวทางแตกต่างกันเข้ารวมเป็นหนึ่งเดียว ณ เกาะฮ่องกง เมื่อถูกทางการอังกฤษจับกุม ในขณะตกที่นั่งลำบากนี้เอง "มิสเตอร์แฟรงค์ ลูสบีย์" ทนายความสัญชาติอังกฤษจึงได้เสนอตัวช่วยเหลือในการต่อสู้ทางการศาลให้แก่โฮจิมินห์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
25
กุมภาพันธ์
2566
การเดินทางของโฮจิมินห์ กับการปฏิบัติภารกิจในสยาม เมื่อโฮจิมินห์ถึงที่หมายอย่างปลอดภัย หลังจากนั้นเขาได้เดินทางต่อขึ้นมายังทางภาคเหนือและอีสานจนได้พบปะกับชาวเวียดนามโพ้นทะเล พร้อมทั้งทำงานเผยแพร่ความคิดเพื่อกอบกู้เอกราชและภารกิจจากองค์กรคอมมิวนิสต์สากล
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
11
กุมภาพันธ์
2566
ชีวิตและการเคลื่อนไหวทางการเมืองของรัฐบุรุษแห่งแผ่นดินเวียดนาม 'โฮจิมินห์' ณ ประเทศฝรั่งเศส รวมไปถึงอิทธิพลทางความคิดจากการอภิวัฒน์ทางชนชั้นในรัสเซีย เมื่อ ค.ศ. 1917 ซึ่งได้สร้างสำนึกร่วมของผู้ถูกกดขี่ที่หิวโหยอิสรภาพและเสรีภาพในดินแดนอื่นๆ
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กุมภาพันธ์
2566
การเดินทางเพื่อแสวงหาเป้าหมายแห่งชีวิต คือ การศึกษาสั่งสมหาความรู้เพื่อตอบสนองต่อเจตจำนงที่ตนได้ตั้งไว้ ตลอดช่วงเวลาดังกล่าวนักปฏิวัติผู้นี้มิได้เคยย่อท้อต่อความยากลำบาก หากฝ่าฟันทุกอุปสรรคและเก็บเกี่ยวทุกประสบการณ์เพื่อประกอบกับการกอบกู้เอกราช
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
21
มกราคม
2566
"ลุงโฮ" บอกเล่าเรื่องราวชีวประวัติในช่วงปฐมวัย อันเป็นชีวิตที่แวดล้อมไปด้วยปัจจัยรอบด้าน ทั้งสภาพสังคมที่แร้นแค้น ประกอบกับการขูดรีดทางชนชั้นจากเจ้าอาณานิคมที่เกิดขึ้นอยู่ทุกเมื่อเชื่อวัน ทำให้โฮจิมินห์เติบโตขึ้นมาท่ามกลางครอบครัวที่ต้องต่อสู้เพื่อความยุติธรรมในสังคม สิ่งต่างๆ นานัปการได้จุดประกายให้เด็กชายผู้นี้บ่มเพาะเจตนารมณ์ที่จะสร้างความเปลี่ยนแปลงในสังคม
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
4
ธันวาคม
2565
'ทวีป วรดิลก' เขียนถึง ชื่อเสียงของ 'หวอเหงียนย้าป' ที่ขจรไปไกลสืบเนื่องจากการต่อต้านลัทธิล่าอาณานิคมฝรั่งเศสและอเมริกาได้จนสำเร็จ อีกทั้งเรื่องราวความสัมพันธ์ระหว่าง 'นายปรีดี พนมยงค์' และ 'โฮจิมินห์' ที่นำพาให้ผู้เขียนและ 'ศุขปรีดา พนมยงค์' พร้อมด้วย "คณะมิตรภาพ" ได้เดินทางเข้าเยี่ยมเยียนหวอเหงียนย้าป ณ ที่พำนัก
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
27
พฤศจิกายน
2565
นายพลนามว่า 'หวอเหงียนย้าป' จะยังคงเป็นชื่อที่อยู่คู่แผ่นดินเวียดนามและเคียงข้างนาม 'โฮจิมินห์' ตลอดกาล มิใช่ด้วยเหตุผลยศถาอันยิ่งใหญ่ แต่เพราะคุณูปการที่นักอภิวัฒน์ผู้นี้ได้เคยกระทำไว้ให้แก่ชาติเมื่อครั้งยังมีชีวิตอยู่ได้กลายเป็นอนุสรณ์ให้ชาวเวียดนามและโลกได้ระลึกถึงตราบนานเท่านาน สมดังเป็น "ทหารอาวุโสผู้เป็นอมตะนิรันดร์กาล"
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
12
พฤศจิกายน
2565
ความเดิมตอนที่แล้ว : ตอนที่ 14
ศุขปรีดาเล่าเรื่อง : หวอเหงียนย้าป จอมทัพคู่บารมีโฮจิมินห์ : สมรภูมิเวียดนามใต้
การตรากตรำทำงานอย่างหนักของ หวอเหงียนย้าป มาตั้งแต่วัยหนุ่มตลอดจนการรับหน้าที่บัญชาการในสงครามปลดปล่อยภาคใต้ ทำให้สุขภาพของท่านเริ่มทรุดโทรมถดถอยไปมาก โดยเฉพาะขณะที่ท่านมีอายุได้ 63 ปี คือในปี 1974 ขณะการรบปลดปล่อยขั้นแตกหักได้ก้าวเข้าสู่ชัยชนะในขั้นสุดท้ายแล้ว
บทความ • ชีวิต-ครอบครัว
Subscribe to โฮจิมินห์
11
พฤศจิกายน
2565
ดร.ปรีดี พนมยงค์ ได้พำนักอยู่ในกรุงปักกิ่งประเทศจีนในฐานะเป็น “แขกของรัฐบาล” โดยรัฐบาลจีนออกค่าใช้จ่ายในการดำรงชีวิตให้ทุกประการ บ้านที่พักเป็นบ้านเลขที่ 25 ตรอกเสี่ยวหยางเหมา คนไทยร่วมอาศัยอยู่ด้วยหลายคน คือ ร.อ.วัชรชัย ชัยสิทธิเวช, นายสงวน ตุลารักษ์ อดีตเอกอัครราชทูตไทยประจำกรุงปักกิ่ง, ร.ต.ต.สมจิตร สุวรรณวัฒนา, นางนงเยาว์ ประภาสถิตย์, ร.ต.อ.สมศักดิ์ พัวเวช, ส.ต.ต.ชม แสงเงิน และ ร.ต.อ.เฉียบ ชัยสงค์ (อัมพุนันท์) และนับเป็นการลี้ภัยการเมืองครั้งที่ 3 ของท่าน คงจำได้ว่า การลี้ภัยครั้งแรก คือ เมื่อพระยามโนปกรณ์นิติธาดาปิดสภา ครั้งที่สอง เมื่