ข้ามไปยังเนื้อหาหลัก

โฮจิมินห์

เกร็ดประวัติศาสตร์
5
พฤศจิกายน
2565
นับตั้งแต่ต้นปี ค.ศ. 1965 เป็นต้นมา การแทรกแซงของอเมริกาเป็นไปอย่างเต็มรูปแบบ ด้วยการส่งทหารอเมริกันเข้ามาปฏิบัติการรบ และได้มีการแต่งตั้งให้พลเอก เวสต์ มัวร์แลนด์ เป็นผู้บัญชาการ สำหรับนายพลอเมริกันผู้นี้ก็ดูเหมือนไม่มีความสามารถอะไรเป็นพิเศษ นอกจากเรียกร้องให้ทางประธานาธิบดีส่งทหารเพิ่มเติมเข้ามาตลอดเวลา
ชีวิต-ครอบครัว
29
ตุลาคม
2565
คุณศุขปรีดา พนมยงค์ เป็นหัวหน้าพาคณะมิตรสหายไปเยี่ยมเยือนและคารวะผู้อาวุโส ยังประเทศสาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนามหลายครั้ง ผมมีโอกาสติดตามไป 2 ครั้ง เมื่อปี พ.ศ. 2544 และ พ.ศ. 2548 ตามลำดับ จากนั้น คุณศุขปรีดาลงมือเขียนประวัติท่านโฮจิมินห์ ส่งไปลงพิมพ์เป็นตอนๆ ในนิตยสารมติชนสุดสัปดาห์ เมื่อต้นปี พ.ศ. 2549 และรวมพิมพ์เล่มครั้งแรก โดยสำนักพิมพ์มิ่งมิตร — บริษัทชนนิยม จำกัด เมื่อเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2549 ในชื่อเล่มที่คุณขรรค์ชัย บุนปาน ประธานเครือบริษัทมติชน จำกัด เป็นผู้ตั้งให้ “โฮจิมินห์ เทพเจ้าผู้ยังมีลมหายใจ”
เกร็ดประวัติศาสตร์
9
ตุลาคม
2565
จากชัยชนะศึกเดียนเบียนฟู นำมาซึ่งข้อตกลงเจนีวา ปี ค.ศ. 1954 นั้น มีการระบุไว้ว่าปี ค.ศ. 1956 ต้องจัดให้มีการเลือกตั้งทั่วไปในเวียดนามภาคใต้ เพื่อตัดสินว่าจะเข้ารวมประเทศเป็นเอกภาพกับเวียดนามภาคเหนือ หรือจะให้เวียดนามภาคใต้ดำเนินรูปแบบการปกครองอย่างหนึ่งอย่างใด
เกร็ดประวัติศาสตร์
1
ตุลาคม
2565
ผลพวงจากข้อตกลงหลังเสียงปืนแห่งสงครามสงบลง คือการใช้เส้นขนานที่ 17 แบ่งแยกดินแดนและการปกครอง ส่งผลให้กำลังพลที่ตกค้างในแต่ละพื้นที่ต้องเคลื่อนย้ายสู่ดินแดนที่ถูกกำหนดไว้ภายใต้สภาพการณ์หลังการสงบศึก
เกร็ดประวัติศาสตร์
10
กันยายน
2565
แม้ในกองทัพเวียดมินห์จะมีชัยชนะเหนือฝรั่งเศสติดต่อกัน นับตั้งแต่ยุทธการเปิดชายแดนในปี ค.ศ. 1950 แต่ผู้บัญชาการหวอเหงียนย้าปก็มิอาจประมาท ยังคงดำเนินทุกย่างก้าวของกองทัพเวียดมินห์ด้วยความรอบคอบ เพราะจุดหมายในครั้งนี้ คือ ความปราชัยและดับฝันการขยายอำนาจเหนืออินโดจีนทั้งหมดของฝรั่งเศส
เกร็ดประวัติศาสตร์
4
กันยายน
2565
13 มีนาคม ค.ศ. 1954 กระสุนปืนใหญ่ขนาด 105 ม.ม. ของกองกำลังเวียดมินห์ ได้เปิดฉากยิงถล่มที่มั่นของฝรั่งเศส
เกร็ดประวัติศาสตร์
6
สิงหาคม
2565
ปฏิบัติการภายใต้บัญชาการของหวอเหงียนย้าป สามารถนำโฮจิมินห์และคณะกรรมการศูนย์กลางของพรรคคอมมิวนิสต์เคลื่อนเข้าสู่ฐานที่มั่นได้อย่างปลอดภัย ซึ่งในเวลาต่อมา กองทัพประชาชนได้ยกระดับแนวรบและพัฒนากำลังพลมากขึ้น รวมไปถึงการได้รับความร่วมมือจากประชาชนในท้องถิ่นมากขึ้นเรื่อยๆ
เกร็ดประวัติศาสตร์
30
กรกฎาคม
2565
แม้จะมีความพยายามในการเจรจาอย่างสันติโดย 'โฮจิมินห์' และ 'หวอเหงียนย้าป' แต่ก็ไม่เป็นผล เพราะผู้ล่าอาณานิยมมิอาจยอมวางมือได้ เมื่อเป็นเช่นนั้น สงครามต่อต้านผู้รุกรานจากประชาชนผู้รักเอกราชจึงอุบัติขึ้นทั่วประเทศ
เกร็ดประวัติศาสตร์
17
กรกฎาคม
2565
กองทัพญี่ปุ่นยอมจำนนอย่างไม่มีเงื่อนไขต่อฝ่ายสัมพันธมิตรเมื่อวันที่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1945 ทำให้ดินแดนเวียดนามตกอยู่ในสภาพสุญญากาศ ปราศจากรัฐบาลใดๆ ปกครองประเทศ  เพราะญี่ปุ่นยึดอำนาจเบ็ดเสร็จในอินโดจีนจากฝรั่งเศสเพียงไม่กี่เดือนก่อนการยอมจำนนเปิดโอกาสให้เวียดมินห์ทำการยึดอำนาจมาอยู่ในมือของประชาชนเวียดนามอย่างแท้จริง  
เกร็ดประวัติศาสตร์
19
มิถุนายน
2565
การที่โฮจิมินห์และพรรคมอบหมายให้หวอเหงียนย้าปรับผิดชอบในด้านการทหาร ซึ่งก็คือ การจัดตั้งกองกำลังติดอาวุธในการต่อสู้เพื่อกู้เอกราช อันสืบเนื่องมาจากการจัดตั้ง “แนวร่วมเวียดมินห์” (VIET NAM DOC LAP DONG MINH HOI) เมื่อวันที่ 19 พฤษภาคม 1941 ช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 จากการประชุมสมัชชาครั้งที่ 8 ของพรรคคอมมิวนิสต์อินโดจีน ณ ฐานที่มั่นภาคตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศ ตรงกับวันคล้ายวันเกิดของโฮจิมินห์พอดี
Subscribe to โฮจิมินห์