ไสว สุทธิพิทักษ์
บทความ • บทบาท-ผลงาน
10
ธันวาคม
2567
10 ธันวาคม 2485 เป็นวันเปิดดำเนินการธนาคารชาติซึ่งมีแนวคิดริเริ่มในการจัดตั้งตามอุดมคติของคณะราษฎรโดยนายปรีดี พนมยงค์ ได้นำมาเขียนไว้ในเค้าโครงการเศรษฐกิจและสมุดปกเหลืองจนนำมาสู่การก่อตั้งสำเร็จ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
8
ธันวาคม
2567
ไสว สุทธิพิทักษ์ เขียนถึงภารกิจของนายปรีดี พนมยงค์ หลังสงครามโลก ครั้งที่ 2 ในบทบาทรัฐบุรุษอาวุโส และนายกรัฐมนตรีสมัยแรก รวมถึงการมีส่วนผลักดันให้เกิดรัฐธรรมนูญประชาธิปไตยสมบูรณ์ ฉบับปี 2489
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
10
ตุลาคม
2567
ไสว สุทธิพิทักษ์ เล่าถึงบริบทการเมืองสยามก่อนเหตุการณ์กบฏบวรเดชไม่นานนักในช่วงที่นายปรีดี พนมยงค์ ได้รับการแต่งตั้งเป็นรัฐมนตรีลอยเมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2476 และสะท้อนให้เห็นการประสานความขัดแย้งของนายปรีดีกับชนชั้นนำ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
13
กันยายน
2567
บทความนี้เสนอผลของการสอบสวนกรรมาธิการซึ่งสภาผู้แทนราษฎรตั้งขึ้นเพื่อสอบสวนนายปรีดี พนมยงค์ว่าเป็นคอมมูนิสต์หรือไม่ โดยสภาฯ ได้พิจารณารายงานการสอบสวนนี้ในวันที่ 10 มีนาคม 2476 โดยลงมติว่า นายปรีดีไม่มีมลทินเป็นคอมมิวนิสต์
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
7
กันยายน
2567
ในทศวรรษ 2470 นายปรีดี พนมยงค์ ได้ถูกกล่าวหาและตั้งข้อสังเกตว่าเป็นคอมมิวนิสต์ โดยต่อมาพระยาพหลพลพยุหเสนาได้เสนอนามเป็นผู้เชี่ยวชาญที่ปรึกษาทำการสอบสวน นายปรีดี พนมยงค์ ว่าเป็นคอมมูนิสต์หรือไม่ แล้วให้กรรมาธิการเสนอผลการสอบสวนต่อสภาฯ เพื่อพิจารณาต่อไป
บทความ • บทบาท-ผลงาน
1
สิงหาคม
2567
ไสว สุทธิพิทักษ์ กล่าวถึงบทบาทผู้สำเร็จราชการแทนพระองค์ของปรีดี พนมยงค์ ตั้งแต่ พ.ศ. 2484-2488 ซึ่งเป็นช่วงสงครามโลก ครั้งที่ 2 ที่ปรีดีมีพันธกิจกู้ชาติและรักษาเอกราชของประเทศไว้ได้ด้วยการก่อตั้งขบวนการเสรีไทยในประเทศ
บทความ • บทบาท-ผลงาน
11
มิถุนายน
2567
ดร.ปรีดี พนมยงค์ ดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ได้ปรับปรุงพิกัดอัตราศุลกากร โดยลดหรือยกเว้นภาษีสินค้าเกษตร อุตสาหกรรม การแพทย์ และการศึกษา เพิ่มภาษีสินค้านำเข้า ปรับวิธีเก็บภาษีข้าวจากเก็บตามสภาพเป็นเก็บตามราคา เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจและสนับสนุนราษฎร โดยเฉพาะชาวนา
บทความ • บทบาท-ผลงาน
12
เมษายน
2567
ปรีดี พนมยงค์ ผู้มีบทบาทสำคัญในการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ได้ออกจากประเทศไทยและเดินทางไปยังหลายประเทศ โดยตลอดเวลาที่อยู่ในต่างประเทศนั้น ปรีดีได้ติดตามสถานการณ์การเมืองในประเทศไทยอย่างใกล้ชิด และเมื่อในปี 2476 รัฐบาลไทยได้เรียกให้ปรีดีกลับมาดำรงตำแหน่งรัฐมนตรีอีกครั้ง
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
7
เมษายน
2567
รัฐบาลสมบูรณาญาสิทธิราชไม่สามารถแก้ปัญหาเศรษฐกิจที่กระทบประชาชน โดยมุ่งตอบสนองด้านการเงิน เพิ่มภาระภาษี แทนการแก้ปัญหาโครงสร้างเศรษฐกิจและยกระดับความเป็นอยู่ของประชาชน
บทความ • เกร็ดประวัติศาสตร์
Subscribe to ไสว สุทธิพิทักษ์
6
เมษายน
2567
ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชไทย เศรษฐกิจเป็นแบบดั้งเดิม ราษฎรส่วนใหญ่ยากจน ขาดความรู้ธุรกิจ ทุนกับการค้าตกอยู่ต่างชาติ รัฐไม่ส่งเสริมอุตสาหกรรมแต่เน้นเก็บภาษี ส่งผลกระจายรายได้ไม่เป็นธรรมและพัฒนาเศรษฐกิจล่าช้า